ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฆ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''ฆ''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 6 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ฅ]] และก่อนหน้า [[ง]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]]ในระบบ[[ไตรยางศ์]] ออกเสียงอย่าง ค (ควาย) มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฆ ระฆัง"
'''ฆ''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 6 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ฅ]] และก่อนหน้า [[ง]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]]ในระบบ[[ไตรยางศ์]] ออกเสียงอย่าง ค (ควาย) มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฆ ระฆัง"



อักษร ฆ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้นพยางค์]]และ[[พยัญชนะท้ายพยางค์]] โดยแทนเสียง {{IPA|[kʰ]}} และ {{IPA|[k̚]}} ตามลำดับ แต่ใน[[การทับศัพท์ภาษาอาหรับ|การทับศัพท์คำภาษาอาหรับ]]และ[[การทับศัพท์ภาษามลายู|มลายู]]ใช้ ฆ แทนเสียง [[เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง|{{IPA|[ɣ]}}]] และใน[[การทับศัพท์ภาษาสเปน|การทับศัพท์คำภาษาสเปน]]ใช้ ฆ แทนเสียง [[เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง|{{IPA|[x]}}]] ทั้งในตำแหน่งต้นพยางค์และท้ายพยางค์


ฆ มักไม่ถูกใช้เป็นอักษรสำหรับหัวข้อลำดับ เช่นว่า ก. ข. ค. ง. จ. ฯลฯ ซึ่งข้าม ฆ. ไปเลย
ฆ มักไม่ถูกใช้เป็นอักษรสำหรับหัวข้อลำดับ เช่นว่า ก. ข. ค. ง. จ. ฯลฯ ซึ่งข้าม ฆ. ไปเลย

== เสียง ==
อักษร "ฆ" ตรงกับตัวอักษรเทวนาครีคือ "घ" และตรงกับเสียง[[เสียงกัก เพดานอ่อน ก้อง|เสียงกักเพดานอ่อนก้อง]] {{IPA|[gʰ]}} ใน[[ภาษาฮินดี]]

สำหรับภาษาไทยกลาง อักษร ฆ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้นพยางค์]]และ[[พยัญชนะท้ายพยางค์]] โดยแทนเสียง[[เสียงกัก เพดานอ่อน ไม่ก้อง|กักเพดานอ่อนไม่ก้องพ่นลม]] {{IPA|[kʰ]}} และเสียงกักเพดานอ่อนไม่ก้องเสียงสั้น {{IPA|[k̚]}} ตามลำดับ

ใน[[การทับศัพท์ภาษาอาหรับ|การทับศัพท์คำภาษาอาหรับ]]และ[[การทับศัพท์ภาษามลายู|มลายู]]ใช้ ฆ แทนเสียง [[เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง|{{IPA|[ɣ]}}]] และใน[[การทับศัพท์ภาษาสเปน|การทับศัพท์คำภาษาสเปน]]ใช้ ฆ แทนเสียง [[เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง|{{IPA|[x]}}]] ทั้งในตำแหน่งต้นพยางค์และท้ายพยางค์


[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:12, 31 กรกฎาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

เป็นพยัญชนะตัวที่ 6 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก และก่อนหน้า จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำในระบบไตรยางศ์ ออกเสียงอย่าง ค (ควาย) มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฆ ระฆัง"


ฆ มักไม่ถูกใช้เป็นอักษรสำหรับหัวข้อลำดับ เช่นว่า ก. ข. ค. ง. จ. ฯลฯ ซึ่งข้าม ฆ. ไปเลย

เสียง

อักษร "ฆ" ตรงกับตัวอักษรเทวนาครีคือ "घ" และตรงกับเสียงเสียงกักเพดานอ่อนก้อง [gʰ] ในภาษาฮินดี

สำหรับภาษาไทยกลาง อักษร ฆ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้นพยางค์และพยัญชนะท้ายพยางค์ โดยแทนเสียงกักเพดานอ่อนไม่ก้องพ่นลม [kʰ] และเสียงกักเพดานอ่อนไม่ก้องเสียงสั้น [k̚] ตามลำดับ

ในการทับศัพท์คำภาษาอาหรับและมลายูใช้ ฆ แทนเสียง [ɣ] และในการทับศัพท์คำภาษาสเปนใช้ ฆ แทนเสียง [x] ทั้งในตำแหน่งต้นพยางค์และท้ายพยางค์