32,569
การแก้ไข
ล (robot Adding: fr:Vinaya) |
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม) ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
'''พระวินัยปิฎก''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]] : วินยปิฏก) ถือเป็นส่วนหนึ่งของ[[พระไตรปิฎก]] เป็นประมวลกฎข้อบังคับ เกี่ยวกับความประพฤติของเหล่า[[สงฆ์]] ทั้ง[[ภิกษุ]] และ[[ภิกษุณี]]
ทว่า พระวินัยปิฎกนั้นมิได้มีแต่กฎข้อบังคับเท่านั้น หากยังมีเนื้อหาสะท้อนประวัติศาสตร์ของ[[อินเดีย]]ใน
เดิมนั้น พระวินัยปิฎกแบ่งได้เป็น 3 หมวด
* ภาค 1 สุตตวิภังค์
* ภาค 2 ขันธกะ
* ภาค 3 ปริวาร
ในภายหลังมีการแบ่งเป็น 5 ส่วน และถือเอาเป็นหลักในการจำแนกหมวดพระวินัยมาจนปัจจุบัน ดังนี้
# '''มหาวิภังค์''' เนื้อหาเกี่ยวกับมูลเหตุแห่งการบัญญัติพระวินัย และข้อวินัยของพระสงฆ์ 220 ข้อ กับวิธีพิจารณาข้อพิพาทอีก 7 ข้อ รวม 227 ข้อ
# '''ภิกขุนีวิภังค์''' กล่าวถึง วินัยของพระภิกษุณี ที่ไม่ซ้ำกับพระภิกษุ 130 (ภิกษุณีมีวินัย 311 ข้อ)
# '''มหาวรรค''' แบ่งได้เป็น 10 หมวดย่อย หรือ 10 ขันธกะ กำเนิดภิกษุสงฆ์ และกิจการเกี่ยวแก่ภิกษุสงฆ์ ได้แก่ มหาขันธกะ, อุโบสถขันธกะ, วัสสูปนายิกาขันธกะ, ปวารณาขันธกะ, จัมมขันธกะ, เภสัชชขันธกะ, กฐินขันะกะ, จีวรขันธกะ, จัมเปยยขันธกะ และโกสัมพิขันธกะ
# '''จุลวรรค''' แบ่งเป็น 12 หมวดย่อย หรือ 12 ขันธกะ เกี่ยวกับระเบียบความเป็นอยู่ของภิกษุ ภิกษุณี และเรื่องสังคายนา ได้แก่ กรรมขันธกะ, ปริวาสิกขันธกะ, สมุจจยขันธกะ, สมถขันธกะ, ขุททกวัตถุขันธกะ, เสนาสนขันธกะ, สังฆเภทขันธกะ, วัตตขันธกะ, ปาฏิโมกขัฏฐปนขันธกะ, ภิกขุนีขันธกะ, ปัญจสติกขันธกะ และสัตตสติกขันธกะ
|
การแก้ไข