ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัศวิน ขวัญเมือง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพียงเพิ่มข้อมูลบางส่วน ไม่ได้แก้ไขบทความของเดิมที่มีอยู่
เพียงเพิ่มเติมบทบาทหน้าที่ ที่ได้ทำระหว่างการดำรงตำแหน่งในขณะนี้เท่านั้น ไม่มีการแก้ไขเนื้อหาเดิมที่มีอยู่
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่ออัศวินดำรงยศ [[พลตำรวจโท]] (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.[[สุชาติ เหมือนแก้ว]] รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับ[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551|การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้<ref>[http://www.naewna.com/news.asp?ID=120558{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} เด้ง"อัศวิน"พ้นนครบาล ปมปราบพธม.ล้มเหลว ส่งเพื่อน"แม้ว"คุมม็อบ จาก[[แนวหน้า]]]</ref>
ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่ออัศวินดำรงยศ [[พลตำรวจโท]] (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.[[สุชาติ เหมือนแก้ว]] รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับ[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551|การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้<ref>[http://www.naewna.com/news.asp?ID=120558{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} เด้ง"อัศวิน"พ้นนครบาล ปมปราบพธม.ล้มเหลว ส่งเพื่อน"แม้ว"คุมม็อบ จาก[[แนวหน้า]]]</ref>


ต่อมาใน[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 ของไทย|รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นาย[[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษา สบ.10 ในยศ[[พลตำรวจเอก]] (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทาง[[คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ]] (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือน[[ตุลาคม]] ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ<ref>[http://thaiinsider.info/2009news/the-news/politics/8004--10- เด็กสุเทพ'ไปไม่ถึงฝัน ส่อ'หลุด'เก้าอี้'ผบ.ตร.' 'อัศวิน'ปิ๋วพลาด'รอง ผบ.ตร.' 'ก.ตร.'เบรกไม่อนุมัติ!! ]</ref><ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20101012/76104/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AF48%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A5.%E0%B8%95.%E0%B8%AD..html โปรดเกล้าฯ48นายพลพงศพัศ-อัศวินพล.ต.อ. จาก[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]]</ref>และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000150899 ปลด “ศรีวราห์” พ้น รรท.ผบช.ภ.1 ตั้ง “อัศวิน” เสียบแทน จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ซึ่งในปลายปีเดียวกัน ยังได้รับ[[ฉายา]]จาก[[สื่อมวลชน]]ว่า "อัศวินปิดจ๊อบ" เนื่องจากมีผลการทำงานที่ดุดัน รวดเร็ว<ref>[http://www.innnews.co.th/politic.php?nid=260186 สื่อให้ฉายาอัศวินปิดจ๊อบวิสุทธิ์คู่เดือด]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> และ "มือปราบไผ่เขียว"<ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110102171325/http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html |date=2011-01-02 }} ตั้งฉายา'มือปราบไผ่เขียว'ให้'อัศวิน' จาก[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]]</ref>และยังได้รับผลโหวตจากการสำรวจความคิดเห็นจาก[[เอแบคโพล]]ด้วยว่า เป็นนายตำรวจที่เป็นตำรวจมือปราบ ที่ประชาชนรู้สึกชื่นชอบและบรรเทาเหตุอาชญากรรมได้มากที่สุด <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000180471&#Comment โพลสำรวจ “อัศวิน ปิดจ็อบ” ครองใจ ปชช.ปราบโจร!]</ref>
ต่อมาใน[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 ของไทย|รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นาย[[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษา สบ.10 ในยศ[[พลตำรวจเอก]] (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทาง[[คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ]] (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือน[[ตุลาคม]] ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ<ref>[http://thaiinsider.info/2009news/the-news/politics/8004--10- เด็กสุเทพ'ไปไม่ถึงฝัน ส่อ'หลุด'เก้าอี้'ผบ.ตร.' 'อัศวิน'ปิ๋วพลาด'รอง ผบ.ตร.' 'ก.ตร.'เบรกไม่อนุมัติ!! ]</ref><ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20101012/76104/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AF48%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A5.%E0%B8%95.%E0%B8%AD..html โปรดเกล้าฯ48นายพลพงศพัศ-อัศวินพล.ต.อ. จาก[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]]</ref>และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 <ref>[http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9530000150899 ปลด “ศรีวราห์” พ้น รรท.ผบช.ภ.1 ตั้ง “อัศวิน” เสียบแทน จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ซึ่งในปลายปีเดียวกัน ยังได้รับ[[ฉายา]]จาก[[สื่อมวลชน]]ว่า "อัศวินปิดจ๊อบ" เนื่องจากมีผลการทำงานที่ดุดัน รวดเร็ว และ "มือปราบไผ่เขียว"<ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110102171325/http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html |date=2011-01-02 }} ตั้งฉายา'มือปราบไผ่เขียว'ให้'อัศวิน' จาก[[คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)|คมชัดลึก]]]</ref>และยังได้รับผลโหวตจากการสำรวจความคิดเห็นจาก[[เอแบคโพล]]ด้วยว่า เป็นนายตำรวจที่เป็นตำรวจมือปราบ ที่ประชาชนรู้สึกชื่นชอบและบรรเทาเหตุอาชญากรรมได้มากที่สุด


ภายหลังอัศวินเกษียณอายุราชการ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ([[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]] เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) ดูแลงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเทศกิจ<ref>''ทีมผู้บริหาร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร'', หน้า 16 กทม.-จราจร. [[เดลินิวส์]] ฉบับที่ 23,183: วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2556 แรม 8 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง</ref>จนมาถึงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจากการได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติในปัจจุบัน นับได้ว่าเขาเป็นนายตำรวจไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ ในปี พ.ศ. 2553 ได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ<ref>[https://www.thaihealth.or.th/Content/22112-%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%20354%20%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4.html เกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ]</ref><ref>https://www.sanook.com/men/15597/</ref>
ภายหลังอัศวินเกษียณอายุราชการ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ([[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]] เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) ดูแลงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเทศกิจ<ref>''ทีมผู้บริหาร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร'', หน้า 16 กทม.-จราจร. [[เดลินิวส์]] ฉบับที่ 23,183: วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2556 แรม 8 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง</ref>จนมาถึงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจากการได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติในปัจจุบัน นับได้ว่าเขาเป็นนายตำรวจไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ ในปี พ.ศ. 2553 ได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ<ref>[https://www.thaihealth.or.th/Content/22112-%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%20354%20%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4.html เกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ]</ref><ref>https://www.sanook.com/men/15597/</ref>
บรรทัด 67: บรรทัด 67:
ในปี 2561 ก็ได้ประกาศสานต่อนโยบาย NOW ทำจริง เห็นผลจริง '''ผลงานเปลี่ยนกรุงเทพฯ ด้วยนโยบาย  “ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที” และ “NOW ทำจริง เห็นผลจริง”''' ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปัจจุบัน (ปี 2564) ที่ทำให้กรุงเทพฯ เปลี่ยนไปแล้วอย่างชัดเจน  ดังนี้
ในปี 2561 ก็ได้ประกาศสานต่อนโยบาย NOW ทำจริง เห็นผลจริง '''ผลงานเปลี่ยนกรุงเทพฯ ด้วยนโยบาย  “ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที” และ “NOW ทำจริง เห็นผลจริง”''' ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปัจจุบัน (ปี 2564) ที่ทำให้กรุงเทพฯ เปลี่ยนไปแล้วอย่างชัดเจน  ดังนี้


'''“คลอง” เปลี่ยนไปแล้ว'''  ภาพรวมดีขึ้น  อย่างเช่น คลองโอ่งอ่าง<ref>{{Cite web|date=2021-04-02|title=คลองโอ่งอ่างคว้ารางวัลต้นแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตเมืองของเอเชีย|url=https://www.pmdu.go.th/ong-ang-canal-win-landscape-improvement/|website=PMDU|language=th}}</ref> (ได้รับรางวัล 2020 Asian Townscape Awards จาก UN-Habitat Fukuoka) คลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) <ref>{{Cite web|date=2021-01-15|title=คืบหน้าปรับปรุง “คูเมืองเดิม” เพื่อเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/32399/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref>คลองผดุงกรุงเกษม<ref>{{Cite web|last=30|date=2021-02-09|title=กทม.เดินหน้าพลิกฟื้นคืนชีวิตให้‘คลองผดุงกรุงเกษม’ ให้เป็นเส้นทางเดินเรือสีเขียวเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สายแรกของไทย|url=https://www.khaosod.co.th/pr-news/news_5915311|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> คลองลาดพร้าว <ref>{{Cite web|date=2020-11-16|title=ลุยเดินหน้าปรับภูมิทัศน์คลองลาดพร้าว-คลองเปรมฯ|url=https://www.naewna.com/local/531984|website=https://www.naewna.com|language=th}}</ref> คลองยายสุ่น<ref>{{Cite web|date=2020-03-13|title=คลองยายสุ่น คลองต้นแบบแผนแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย และปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เป็นที่ปลอดภัย|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/17041/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref> ที่เปลี่ยนจากคลองน้ำเสียและคลองระบายน้ำ ฟื้นคืนชีวิตคลอง<ref>{{Cite web|last=Thailandplus|title=กทม.เร่งพัฒนาปรับภูมิทัศน์พลิกฟื้นชีวิตประชาชนริมคลอง|url=https://www.thailandplus.tv/%e0%b8%81%e0%b8%97%e0%b8%a1-%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%92%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9a%e0%b8%a0%e0%b8%b9%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%b1|language=th}}</ref> ให้คนอยู่กับคลองได้เหมือนในอดีต เชื่อมย่าน เชื่อมคน เชื่อมการเดินทาง ให้คนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันได้มากขึ้น โดยพัฒนาคลองให้เป็นพื้นที่สาธารณะ<ref>http://cmc.bangkok.go.th/bmaitev/web/uploads/75.pdf</ref> ที่ทุกๆ คน ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจในเมือง ใช้เดินเล่น ออกกำลังกาย นั่งเล่นริมน้ำ นัดพบปะพูดคุยกันได้ด้วย โดยคลองกำลังพัฒนาอีกคือ คลองช่องนนทรี<ref>{{Cite web|date=2020-11-12|title=ส่องโครงการสวนสาธารณะคลองช่องนนทรี ต้นแบบการพลิกฟื้นระบบนิเวศคลองแห่งแรกของไทย|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/30873/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref> ที่จะเปลี่ยนจากคลองระบายน้ำ เป็นคลองสวนสาธารณะที่ยาวที่สุด มีระบบบำบัดน้ำเสีย แยกน้ำดีออกจากน้ำเสีย นำน้ำที่บำบัดไปใช้ที่สวนลุมพินี เพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองด้วยต้นไม้ใหญ่ และเพิ่มพื้นที่ริมคลองให้คนเมืองได้ใช้เป็นที่พักผ่อนออกกำลังกาย  นอกจากนี้ ยังมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาคลองต่ออีก<ref>{{Cite web|title=ชวนคนกรุงร่วม “หันหน้าเข้าคลอง”|url=https://www.m2fnews.com/news/bkknews/column/assavinbkk/69523|website=https://www.m2fnews.com}}</ref>ทั้ง 50 เขต
'''“คลอง”''' ภาพรวมดีขึ้น  อย่างเช่น คลองโอ่งอ่าง<ref>{{Cite web|date=2021-04-02|title=คลองโอ่งอ่างคว้ารางวัลต้นแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตเมืองของเอเชีย|url=https://www.pmdu.go.th/ong-ang-canal-win-landscape-improvement/|website=PMDU|language=th}}</ref> (ได้รับรางวัล 2020 Asian Townscape Awards จาก UN-Habitat Fukuoka) คลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) <ref>{{Cite web|date=2021-01-15|title=คืบหน้าปรับปรุง “คูเมืองเดิม” เพื่อเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/32399/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref>คลองผดุงกรุงเกษม<ref>{{Cite web|last=30|date=2021-02-09|title=กทม.เดินหน้าพลิกฟื้นคืนชีวิตให้‘คลองผดุงกรุงเกษม’ ให้เป็นเส้นทางเดินเรือสีเขียวเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สายแรกของไทย|url=https://www.khaosod.co.th/pr-news/news_5915311|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> คลองลาดพร้าว  คลองยายสุ่น<ref>{{Cite web|date=2020-03-13|title=คลองยายสุ่น คลองต้นแบบแผนแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย และปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เป็นที่ปลอดภัย|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/17041/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref> ที่เปลี่ยนจากคลองน้ำเสียและคลองระบายน้ำ ฟื้นคืนชีวิตคลอง ให้คนอยู่กับคลองได้เหมือนในอดีต เชื่อมย่าน เชื่อมคน เชื่อมการเดินทาง ให้คนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันได้มากขึ้น โดยพัฒนาคลองให้เป็นพื้นที่สาธารณะ<ref>http://cmc.bangkok.go.th/bmaitev/web/uploads/75.pdf</ref> ที่ทุกๆ คน ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจในเมือง ใช้เดินเล่น ออกกำลังกาย นั่งเล่นริมน้ำ นัดพบปะพูดคุยกันได้ด้วย โดยคลองกำลังพัฒนาอีกคือ คลองช่องนนทรี<ref>{{Cite web|date=2020-11-12|title=ส่องโครงการสวนสาธารณะคลองช่องนนทรี ต้นแบบการพลิกฟื้นระบบนิเวศคลองแห่งแรกของไทย|url=https://www.bltbangkok.com/bangkok-update/30873/|website=BLT Bangkok|language=en-US}}</ref> ที่จะเปลี่ยนจากคลองระบายน้ำ เป็นคลองสวนสาธารณะที่ยาวที่สุด มีระบบบำบัดน้ำเสีย แยกน้ำดีออกจากน้ำเสีย นำน้ำที่บำบัดไปใช้ที่สวนลุมพินี เพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองด้วยต้นไม้ใหญ่ และเพิ่มพื้นที่ริมคลองให้คนเมืองได้ใช้เป็นที่พักผ่อนออกกำลังกาย  นอกจากนี้ ยังมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาคลองต่ออีกทั้ง 50 เขต

'''“การคมนาคม”''' เชื่อมโครงข่ายคมนาคม ล้อ ราง เรือ <ref>{{Cite web|last=Srisaard|first=Muanchan|date=2020-07-17|title=กทม. เร่งพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ล้อ ราง เรือ ยกระดับกรุงเทพฯ สู่มหานครสะดวกสบาย|url=https://www.aroundonline.com/bangkok-news-9/|website=aroundonline|language=en-US}}</ref>เชื่อมต่อการเดินทางจากปริมณฑลเข้ามายังกรุงเทพ และเชื่อมต่อการเดินทางในกรุงเทพ ทั้งการขนส่งสาธารณะและเส้นทางคมนาคมที่สะดวกมากขึ้น ด้วยการพัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย (สายสีเขียวและสีทอง) 30 สถานี เส้นทางเดินเรือโดยสารสาธารณะ 2 เส้นทาง ที่คลองผดุงกรุงเกษม และคลองภาษีเจริญ โครงข่ายถนนสายหลักตามแนวฝั่งตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า) และศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์และป้ายรถเมล์อัจฉริยะ (Smart Bus Shelter)

-    พัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย สายสีเขียวและสายสีทอง <ref>{{Cite web|date=2020-12-16|title=ดีเดย์...เปิดให้บริการเดินรถไฟฟ้า 2 สาย เชื่อมต่อทุกโหมดการเดินทาง “ล้อ ราง เรือ”|url=https://mgronline.com/qol/detail/9630000128467|website=mgronline.com|language=th}}</ref> เพิ่มความสะดวกในการเดินทางจากปริมณฑลเข้ามาในกรุงเทพ และเส้นทางฝั่งธนบุรี โดยการเดินรถไฟฟ้าสายสีเขียวที่ใช้เดินทางทั้งจากจังหวัดสมุทรปราการและปทุมธานีเข้ามาในกรุงเทพได้สะดวกมากขึ้นหรือจะเดินทางข้ามเมืองไปมาได้สะดวกมากขึ้นเช่นกัน  รถไฟฟ้าสายสีเขียว รวมระยะทาง 2 ช่วง 25 กม. 27 สถานี ช่วงที่ 1 เดินทางจากจังหวัดสมุทรปราการ (สถานีเคหะสมุทรปราการ) ถึงสถานีแบริ่ง และช่วงที่ 2 ใช้เดินทางจากจังหวัดปทุมธานี (สถานีคูคต) ถึงหมอชิต (สถานีห้าแยกลาดพร้าว) และยังพัฒนาเส้นทางรถไฟฟ้าสายทอง ระยะทาง 2.8 กม. 3 สถานี ที่เชื่อมรถไฟฟ้าสายสีเขียว สายสีแดง และในอนาคตจะเชื่อมโยงสีม่วง ลดปัญหาการจราจรในเส้นทางถนนเจริญนครและถนนกรุงธนบุรี

-    พัฒนาเส้นทางเดินเรือโดยสารในคลอง 2 เส้นทาง เส้นทางที่ 1 ที่ผดุงกรุงเกษม  โดยนำเรือโดยสารไฟฟ้า 12 ลำ มาให้บริการประชาชนใช้เดินทางจากสถานีหัวลำโพงถึงตลาดเทวราช รวมระยะทาง 5 กม. 11 ท่า สามารถเชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT และรถไฟชานเมือง ที่สถานีหัวลำโพง เชื่อมต่อเรือแสนแสบที่ท่าเรือกระทรวงพลังงาน และเชื่อมต่อเรือด่วนเจ้าพระยาที่ท่าเรือตลาดเทวราช และเส้นทางที่ 2 ที่คลองภาษีเจริญ  รวมระยะทาง 11.5 กม. 15 ท่า ให้บริการเรือดีเซล 10 ลำ และพัฒนาเส้นทางเดินเรือต่อที่คลองแสนแสบ[5]<ref>{{Cite web|date=2018-11-22|title=ขยายเดินเรือคลองแสนแสบถึงตลาดมีนบุรี ช่วยเลี่ยงสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม จ่อเปิด 2 กม.แรก ม.ค.นี้|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000116779|website=mgronline.com|language=th}}</ref> จากท่าเรือวัดศรีบุญเรืองถึงท่าเรือสำนักงานเขตมีนบุรี โดยเดินเรือไฟฟ้า 12 ลำ และมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาที่คลองแสนแสบส่วนต่อขยายสถานีวัดศรีบุญเรืองถึงมีนบุรี

-    พัฒนาป้ายรถโดยสารประจำทางเดิม ให้เป็นศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์ (Smart Bus Shelter) และป้ายรถเมล์อัจฉริยะที่สะดวก มีข้อมูลสายรถเมล์ที่ผ่าน เส้นทางเดินรถ จุดหมายที่รถเมล์ผ่าน  ติดตั้งแล้ว 500 ป้าย ในพื้นที่เขตจตุจักร  พญาไท ราชเทวี บางรัก ปทุมวัน ดินแดง ห้วยขวาง วัฒนา คลองเตย และสาทร และปรับปรุงศาลาที่พักรอรถโดยสารประจำทางใหม่อีก 350 หลัง มีไฟฟ้าส่องสว่าง มีกล้อง CCTV มีที่ชาร์ทแบตเตอรี่โทรศัพท์ ทำให้ประชาชนสะดวกปลอดภัยระหว่างรอรถโดยสารประจำทาง และพัฒนาปรับปรุงต่อให้ครบทุกศาลาที่พักรอรถโดยสารประจำทั่งกรุงเทพฯ 

'''“ถนน” '''มีการก่อสร้างโครงข่ายถนนสายหลักตามแนวตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า)  ตั้งแต่ทางต่างระดับถนนศรีนครินทร์-กรุงเทพกรีฑา ถึง

ถนนเจ้าคุณทหาร ช่วยแก้ไขปัญหารถติดฝั่งกรุงเทพตะวันออกให้รองรับรถได้ถึง 200,000 คันต่อวัน และยังคงก่อสร้างปรับปรุงถนนอีก 8 เส้นทาง เช่น ทางหลวงท้องถิ่นระหว่างถนนวิภาวดีรังสิตกับถนนพหลโยธิน<ref>{{Cite web|date=2021-05-30|title=โครงการทางหลวงท้องถิ่น “พหลโยธิน-วิภาวดีรังสิต” ไปสนามบินดอนเมืองสะดวกขึ้น|url=https://mgronline.com/columnist/detail/9640000051378|website=mgronline.com|language=th}}</ref> และถนนรามคำแหง 24 - ถนนหัวหมาก เพื่อเดินหน้าพัฒนาเส้นทางคมนาคมแก้ไขรถติดในพื้นที่ที่ผู้ใช้สัญจรจำนวนมาก และก่อสร้าง '''“ทางเชื่อม”''' จากพื้นที่ปิดล้อมเส้นทางจำกัดไม่สอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองที่บริเวณศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติกับถนนกำแพงเพชร 6 ทางเชื่อมศูนย์ราชการกับถนนประชาชื่น 10 ทางเชื่อมถนนกาญจนาภิเษกกับพุทธมณฑลสาย 2 ทางเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2 กับถนนพุทธมณฑลสาย 3[5]<ref>{{Cite web|last=SUB_BUA|date=2021-05-07|title=บูมฝั่งธนฯ รับเปิดถนน “วงแหวนฯ-สาย 2” ทุ่ม 3 พันล้านขยายโครงข่ายใหม่ถึงนครปฐม|url=https://www.prachachat.net/property/news-661058|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และยังแก้ไขปัญหารถติดบริเวณจุดตัดทางแยก ด้วยการก่อสร้าง '''“สะพาน-ทางลอด”''' เปลี่ยน “แยกรถติด” ให้เป็นสะพานหรือทางลอด 3 แยกแล้ว และกำลังปรับปรุงอีก 6 แยก เพื่อแก้ไขปัญหารถติดบริเวณจุดตัดทางแยกที่แยกมไหศวรรย์ แยกไฟฉาย และแยกถนนพัฒนาการ-รามคำแหง-ถาวรธวัช

'''“สายสื่อสาร”''' มีการนำสายสื่อสารลงดินในหลายถนน เช่นที่ ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย ถนนนานาเหนือ (ถ.สขุมวิท-คลองแสนแสบ) ถนนพิษณุโลก (แยกพาณิชยการพระนคร-แยกยมราช) ถนนชิดลม (ถนนสาทร-ถนนเจริญราษฎร์) ถนนราชปรารภ (ถนนศรีอยุธยา-แยกประตูน้ำ) ถนนศรีอยุธยา (ถนนพญาไท-ถนนราชปรารภ) ถนนพระราม (ถนนพญาไท-สะพานกษัตริย์) และเดินหน้าสำรวจถนนนำสายสื่อสารลงดินเพิ่ม เพื่อจัดระเบียบเมืองและเพื่อความปลอดภัย

'''“ระบบการระบายน้ำ”''' แก้ไขปัญหาน้ำท่วมใน กทม. โดยใช้วิศวกรรมเชิงโครงสร้าง มาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้ดีมากขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่  เพิ่มเส้นทางการระบายน้ำที่เหมือนมีแม่น้ำอยู่ใต้ดินและช่วยเพิ่มความเร็วในการระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้มากขึ้น มีการก่อสร้างท่อเร่งระบายน้ำ (Pipe Jacking) ที่ช่วยเพิ่มท่อการระบายน้ำขนาดใหญ่ที่มีความสามารถในการเร่งระบายน้ำได้มากขึ้น และยังก่อสร้างพื้นที่รองรับน้ำเพิ่มในพื้นที่ กทม. เพื่อช่วยให้น้ำไม่ท่วมขังในพื้นที่เป็นเวลานาน โดยจัดทำ “แก้มลิง” ทั้งบนดิน และใต้ดินที่เรียกว่า “ธนาคารน้ำใต้ดิน” (Water Bank) เป็นที่กักเก็บน้ำขนาดใหญ่ใต้ดิน ที่ช่วยเร่งระบายน้ำที่ท่วมขังได้เร็วขึ้น และยังมีการสร้างและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บ่อสูบน้ำ และเพิ่ม

เครื่องสูบน้ำในจุดต่าง ๆ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ให้ดีมากขึ้น โดยก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่แล้ว 1 แห่งที่คลองบางซื่อ กำลังก่อสร้างอีก 4 แห่ง  Pipe Jacking มีแล้ว 9 แห่ง เช่น สุขุมวิท 63 (เอกมัย)  แยกเกษตรศาสตร์  ถนนสุวินทวงศ์ ถนนศรีอยุธยา ถนนพระราม 6 กำลังก่อสร้างอีก 3  แห่ง  และแก้มลิง 34 แห่ง เช่น ธนาคารใต้ดินบริเวณวงเวียนบางเขน ธนาคารน้ำใต้ดินปากซอยสุทธิพร และ แก้มลิงหมู่บ้านสัมมากร  บึงร.1 พัน 2 รอ. บึงน้ำประชานิเวศน์ บึงรางเข้ บึงเสือดำ และมีแผนเดินหน้าพัฒนาแก้ไขปัญหาน้ำท่วมทั้งระบบแบบยั่งยืน

'''“พื้นที่สีเขียว”''' เพิ่มพื้นที่สีเขียวจาก 6 ตร.ม.ต่อคน เพิ่มได้ในปี 2564 เป็น 7.30 ตร.ม.ต่อคน และ มีแผนเดินหน้าเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ได้ 9 ตร.ม.ต่อคน ตามมาตรฐาน WHO โดยสร้างสวนสาธารณะเพิ่ม 8 สวนให้เป็นที่พักผ่อนของคนกรุงเทพฯ เช่น สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบางบอน 100 ไร่ สวนสิริภิรมย์ 78.2 ไร่ สวนบางแคภิรมย์ 70 ไร่ และพัฒนาเส้นทางรถไฟเก่าบริเวณสะพานพระปกเกล้าที่ถูกปล่อยร้างมานานทำเป็น สวนสาธารณะลอยฟ้า มีจุดชมวิวกลางแม่น้ำเจ้าพระยา สถานที่พักผ่อนและออกกำลังกายของคนทุกวัย และยังเพิ่มเส้นทางการท่องเที่ยวจากฝั่งพระนคร-ฝั่งธนบุรี ตั้งแต่ถนนคนเดินคลองโอ่งอ่าง – ตลาดสำเพ็ง – ถนนเยาวราช – ตลาดน้อย - สวนลอยฟ้าเจ้าพระยา – ชุมชนกุฎีจีน (กะดีจีน) และยังผลักดันเชื่อม 3 สวนสาธารณะใหญ่ สวนจตุจักร สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และสวนวชิรเบญทัศ ให้เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่สุดในประเทศไทย ระดับมหานคร เป็นอันดับ 3 ของโลก และยังพัฒนาคลองช่องนนทรี ให้เป็นสวนสาธารณะคลองที่ยาวที่สุดแห่งแรกของไทย มีความยาวถึง 4.5 กม. พื้นที่สีเขียว เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้และแหล่งพักผ่อนให้กับชุมชนและคนทำงาน เพิ่มทางวิ่ง/จักรยาน ระยะทางไป-กลับ มากถึง 9 กิโลเมตร ใช้คลองบำบัดน้ำตามธรรมชาติได้มากกว่าเดิม รวมทั้งเพิ่มทางเชื่อมต่อผู้คนในย่านการค้า

'''“สาธารณสุข”''' ขยายศักยภาพการให้บริการทั้งโรงพยาบาลในสังกัด กทม. และศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อให้ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของประชาชน และให้ประชาชนเข้าถึงระบบการบริการในทุกพื้นที่เขตให้มากที่สุด  โดยก่อสร้างอาคาร ขยายเตียง และเปิดศูนย์การรักษาเฉพาะทาง และพัฒนาระบบการบริการออนไลน์เพิ่มความสะดวกในการเข้ารับบริการ

1.      โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ เปิดศูนย์ตรวจรักษาผ่าตัดผ่านกล้อง ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ อาคารเวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู

2.      โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ สถานที่พักฟื้นผู้สูงอายุ และขยายเตียง ผู้ป่วยใน 100 เตียง

3.      โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ เปิดศูนย์สุขภาพ

4.      โรงพยาบาลคลองสามวา เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคทั่วไป

5.      โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคทั่วไป

6.      โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก และเปิดศูนย์ไตเทียม หออภิบาลผู้ป่วยหนัก

7.      คลินิกมลพิษทางอากาศ เปิดในโรงพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลกลาง

8.      พัฒนาศูนย์การแพทย์ชั้นคลินิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช[8]

และยังมีการพัฒนาระบบการบริการทางสาธารณสุข เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมีระบบ Smart OPD บริการนัดหมายล่วงหน้าเพื่อพบแพทย์ภายใน 60 นาที ทำบัตรผู้ป่วยออนไลน์ ตรวจสอบสิทธิการรักษา แสดงคิวนัด และส่งยาถึงบ้าน Telemedicine  และมีระบบบริการเจาะเลือดถึงบ้าน (Mobile Lab) ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และผู้ป่วยติดเตียง ที่ รพ.ราชพิพัฒน์ และจะขยายการบริการให้ครบทุกโรงพยาบาล ในสังกัด กทม. และทุกศูนย์บริการสาธารณสุข

ในปี 2562 ที่มีสถานการณ์วิกฤตของการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้ผลักดันให้มีการทำระบบคัดกรอง BKK COVID-19 เพื่อประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อการตรวจหาเชื้อโควิด-19 เชิงรุก ด้วยการบริการ SWAB ถึงบ้านกับหมอแล็บแพนด้า และช่วงที่สถานการณ์วิกฤตเพิ่มมากขึ้น ได้ผลักดันให้มีการขยายศักยภาพโรงพยาบาลรองรับผู้ป่วยโควิด จัดตั้ง ICU สนาม ด้วยนวัตกรรม Modular ICU 3 แห่ง 343 เตียง จัดตั้งโรงพยาบาลสนาม 13 แห่ง Hospitel ศูนย์พักคอย 62 แห่ง จัดทีมปฏิบัติการเชิงรุก (Bangkok CCRT) เพื่อกระจายลงพื้นที่ตรวจหาเชื้อเชิงรุก ฉีดวัคซีนให้กับคนในชุมชนพื้นที่เสี่ยง และจัดส่งยาอาหารให้ผู้ป่วยที่รักษาตัวที่บ้าน จัดเทศกิจอาสาช่วยเหลือรับ-ส่งผู้ป่วย พัฒนาระบบ BKK covid19 Connect เพิ่มช่องทางแจ้งข้อมูลเพื่อเข้ารับการรักษา และพัฒนาระบบ BKK HI Care บริการผู้ป่วยที่พักรักษาตัวที่บ้าน พร้อมจัดทำระบบการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด โดยจัดทำระบบลงทะเบียนเปิดรับการบริจาค BKK Help และยังผลักดันการจัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีนนอกโรงพยาบาลเพื่อกระจายวัคซีนให้เข้าถึงประชาชนมากที่สุด โดยร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีน ไทยร่วมใจ กรุงเทพฯ ปลอดภัย รวมทั้งได้จัดหน่วยฉีดวัคซีนเคลื่อนที่ด้วยรถ BMV (BKK Mobile Vaccination Unit)<ref>{{Cite web|title=รถฉีดวัคซีนถึงบ้าน ปูพรมกลุ่มเสี่ยง-คลัสเตอร์ในกรุง|url=https://www.thaipost.net/main/detail/116575|website=Thai Post {{!}} อิสรภาพแห่งความคิด|language=en}}</ref> และหน่วยเคลื่อนที่ฉีดวัคซีนผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่มีศูนย์บริการสาธารณสุขใกล้บ้านเข้าไปฉีดให้ถึงบ้านประชาชน และพัฒนาระบบการลงทะเบียนฉีดวัคซีนผ่านแอปพลิเคชัน Line OA และ QueQ  ที่นอกจากจะพัฒนาระบบการรักษาในสถานการณ์วิกฤตแล้ว ยังได้ผลักดันให้มีเปิดรับบุคลากรภายนอก ทั้งพยาบาล พนักงานช่วยงานด้านสาธารณสุขและธุรการ<ref>{{Cite web|last=matichon|date=2021-08-09|title=สมัครด่วน! กทม.รับพยาบาล-พนง.ช่วยงานด้านสาธารณสุข และธุรการ กว่า 1,000 อัตรา|url=https://www.matichon.co.th/local/news_2875191|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> มาช่วยเสริมกำลังให้กับทีมแพทย์ พยาบาล

'''“โรงเรียน กทม.”''' เพิ่มห้องเรียนสองภาษา 74 โรงเรียน ส่งไปเรียนภาษาอังกฤษในต่างประเทศ ทั้งสิงคโปร์ และออสเตรเลีย เพิ่มหลักสูตรฝึกอาชีพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 23 โรงเรียน พร้อมมีหลักสูตรเรียนเสริมทักษะ ทวิศึกษา เรียนสายสามัญควบคู่สายอาชีพ จบมาได้ 2 วุฒิ และเพิ่มโอกาสการศึกษาให้เด็กทุกคนที่อาศัยในกรุงเทพ  เพิ่มหลักสูตรเรียนร่วม<ref>{{Cite web|date=2018-06-18|title=กทม.สั่งโรงเรียนในสังกัดวางแผนการศึกษาดูแล"เด็กพิเศษ"|url=https://mgronline.com/uptodate/detail/9610000060360|website=mgronline.com|language=th}}</ref>สำหรับนักเรียนที่ต้องการดูแลเป็นพิเศษกับนักเรียนปกติ 155 โรงเรียน และให้ทุนเอราวัณสำหรับเด็กนักเรียนสังกัดโรงเรียน กทม. เรียนจบบรรจุเป็นครู กทม. และให้ทุน “ช้อนครู” โดยไปช้อนหานักศึกษาปริญญาตรี ปี 5 ที่เรียนด้านการศึกษามีผลการเรียนดีเด่น มอบทุนเรียนปีสุดท้ายและให้บรรจุเป็น ครู กทม.

นอกจากนี้  ได้เพิ่มสถานีดับเพลิงให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อจะได้เข้าช่วยเหลือระงับเหตุสาธารณภัยต่าง ๆ ได้อย่างทันท่วงที โดยเพิ่มแล้ว 5 สถานี สถานีดับเพลิงฯ ดอนเมือง สถานีดับเพลิงฯ พหลโยธิน สถานีดับเพลิงฯ เฉลิมพระเกียรติ เขตประเวศ สถานีดับเพลิงฯ ร่มเกล้า และสถานีดับเพลิงฯ ราษฎร์บูรณะ และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 7 สถานี จะเดินหน้าพัฒนาสร้างความปลอดภัยในทุกพื้นที่  และยังพัฒนาเพิ่มไฟฟ้าส่องสว่างในจุดเปลี่ยวทั่ว กทม. ติดตั้งไฟส่องสว่าง ใหม่ 5,998 ดวง และซ่อมแซม 141,037 ดวง โดยติดตั้งไฟส่องสว่าง ในสวนสาธารณะ 179 แห่ง ติดตั้งไฟส่องสว่าง บนสะพานลอย 723 แห่ง ติดตั้งไฟส่องสว่าง บนถนน 694 เส้น และติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ในซอย 5,749 ซอย และตรอก 133 ตรอก และติดตั้งกล้อง CCTV ใหม่เพิ่มกว่า 20,000 กล้อง แบบเชื่อมต่อศูนย์ควบคุม 13  ศูนย์ ครบทุกตัวกว่า 62,000 กล้อง ครอบคลุมพื้นที่ทั่ว กทม.และพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนกรุงเทพฯ อย่างต่อเนื่อง โดยสร้างศูนย์สร้างสุขทุกวัยครบทั้ง 50 เขต รวม 66 แห่ง เพิ่มพื้นที่บริการนันทนาการและศูนย์กีฬาที่ออกกำลังกายใกล้ชุมชน และจัดตั้งโรงเรียนฝึกอาชีพแห่งใหม่ที่ประเวศ เปิดสอนวิชาชีพให้กับประชาชนที่ต้องการสร้างอาชีพเสริมรายได้ให้กับครอบครัว

แก้ปัญหาการกำจัดขยะมูลฝอย ลดพื้นที่การฝังกลบ ลดการแพร่เชื้อโรคและลดผลกระทบต่อคนในชุมชนต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาวิธีการกำจัดขยะ ใช้เทคโนโลยีเชิงกล-ชีวภาพ และใช้เทคโนโลยีเตาเผาพลังงานไฟฟ้า และแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 โดยมีส่วนร่วมในการวางแผนปฏิบัติการกับ 23 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้เกิดแผนการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5ของกรุงเทพมหานคร และพัฒนาระบบการรายงานคุณภาพอากาศของ กทม.ด้วย แอปพลิเคชัน Air BKK และ ติดตั้งเครื่องตรวจวัดฝุ่น PM 2.5 ในสวนสาธารณะ 20 แห่ง ครบทุกจุดทั้ง 50 สำนักงานเขต รวมทั้งพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียใน กทม. แล้ว 2 แห่ง ที่มีนบุรี และธนบุรี
----
----



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:03, 22 ธันวาคม 2564

อัศวิน ขวัญเมือง
อัศวิน ขวัญเมืองใน พ.ศ. 2554
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
เริ่มดำรงตำแหน่ง
18 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ก่อนหน้าหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน พ.ศ. 2551
ก่อนหน้าพลตำรวจโท อดิศร นนทรีย์
ถัดไปพลตำรวจโท สุชาติ เหมือนแก้ว
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 (73 ปี)
อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
คู่สมรสนางวาสนา ขวัญเมือง
บุตรพงศกร ขวัญเมือง
ลายมือชื่อ

พลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง เป็นนักการเมืองและตำรวจชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ประธานคณะกรรมการอำนวยการศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) กรุงเทพมหานคร หัวหน้าศูนย์​ปฏิบัติการ​ควบคุม​โรคกรุงเทพมหานคร​ ผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ประธานคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานคร รองผู้อำนวยการ ศูนย์บูรณาการแก้ไขสถานการณ์โควิด – 19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

ประวัติ

อัศวินเกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจากระดับชั้น มศ.3 จากโรงเรียนด่านช้างวิทยา, โรงเรียนตำรวจภูธรภาค 7, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 30 (นรต.30) จบหลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 16 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 45 อัศวิน ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบฝีมือดีคนหนึ่ง เคยผ่านคดีสำคัญ ๆ ระดับชาติมาแล้วหลายคดี อาทิ คดีสังหารนายศุภฤกษ์ เรือนใจมั่น (โจ ด่านช้าง), คดีคาร์บอมบ์รถอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดีจับกุมนายประชา โพธิพิพิธ (กำนันเซี๊ยะ), คดีจับกุมนายนพพล ประสงค์ศิล (จิ๊บ ไผ่เขียว) และคดีวิสามัญฆาตกรรมนายชาญชัย ประสงค์ศิล (โจ๊ก ไผ่เขียว) เป็นต้น

ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่ออัศวินดำรงยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.สุชาติ เหมือนแก้ว รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้[1]

ต่อมาในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษา สบ.10 ในยศพลตำรวจเอก (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทางคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[2][3]และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 [4] ซึ่งในปลายปีเดียวกัน ยังได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อัศวินปิดจ๊อบ" เนื่องจากมีผลการทำงานที่ดุดัน รวดเร็ว และ "มือปราบไผ่เขียว"[5]และยังได้รับผลโหวตจากการสำรวจความคิดเห็นจากเอแบคโพลด้วยว่า เป็นนายตำรวจที่เป็นตำรวจมือปราบ ที่ประชาชนรู้สึกชื่นชอบและบรรเทาเหตุอาชญากรรมได้มากที่สุด

ภายหลังอัศวินเกษียณอายุราชการ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร) ดูแลงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเทศกิจ[6]จนมาถึงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจากการได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติในปัจจุบัน นับได้ว่าเขาเป็นนายตำรวจไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ ในปี พ.ศ. 2553 ได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ[7][8]

ชีวิตการเป็นตำรวจ

เริ่มแรกรับราชการตำรวจที่กรุงเทพมหานครด้วยตำแหน่งรอง สว. สส. สน.สำเหร่ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2520 - 1 ตุลาคม 2521 ย้ายไปเป็นรอง สว.สส.สภ.อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ใน

ปี 2524 เป็นรอง สวป. สภ.อ.เมืองนครปฐม จากนั้นมาเป็นสารวัตรแผนก 5 กองกำกับการสืบสวนสอบสวน กองบังคับการตำรวจภูธร 3 จังหวัดนครปฐม ในปี 2526 พอปี 2528 เลื่อนยศเป็นพันตำรวจตรี เป็นสารวัตร สภ.อ.ด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี

ปี 2530 เลื่อนยศเป็นพันตำรวจโท เป็นรองผู้กำกับการวิทยาการ กองบังคับการตำรวจภูธร 3 จังหวัดนครปฐม

ปี 2535 เลื่อนยศเป็นพันตำรวจเอก เป็นวิทยาจารย์เอกงานฝึกอบรมพยาบาลสนาม วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ สำนักงานแพทย์ใหญ่ และเลื่อนยศเป็นพันตำรวจเอกพิเศษ เป็นรองผู้บังคับการกองปราบปราม ในปี 2538

ปี 2541 เลื่อนยศเป็นพลตำรวจตรี เป็นผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย ปี 2542 ผู้บังคับการกองปราบปราม ปี 2544 ผู้ช่วยผู้บัญชาการ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ปี 2546 ผู้ช่วยผู้บัญชาการ ประจำสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ปี 2547 รองผู้บัญชาการ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง

ปี 2549 เลื่อนยศเป็น พลตำรวจโท ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ในปี 2550 ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.)  

ปี 2551 ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผช.ผบ.ตร.) และในปี 2552 เลื่อนยศเป็น พลตำรวจเอก เป็นที่ปรึกษา(สบ 10) ดูแลงานด้านสืบสวน และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ)

เหตุการณ์ที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับ พล.ต.ต.อัศวิน ขวัญเมือง

-  คดีโจ๊ก-จิ๊บ ไผ่เขียว[9] ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้การดูแลของตำรวจภูธรภาค 1 และในขณะนั้นเอง พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ก็ได้เป็นที่ปรึกษา (สบ.10) รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธร ภาค 1 ได้มาสืบคดีในฐานะหัวหน้าชุดสืบคดี โดยร่วมกับทีมตำรวจโดยใช้ยุทธวิธีปูพรมค้นหาร่วมกับ พยานหลักฐาน สืบประวัติความขัดแย้งที่อาจซ่อนอยู่เบื้องหลัง จนพบว่าปลอกกระสุนที่พบในที่เกิดเหตุตรงกับปลอกกระสุนที่แก๊งวัยรุ่นขาใหญ่ ของชุมชนไผ่เขียว อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เป็นเอเย่นต์ยาเสพติดรายใหญ่  ใช้ในการก่อเหตุต่าง ๆ ก็ได้นำกำลังเข้าปิดล้อมจับกุมได้สำเร็จ

-  คดีผู้พันตึ๋ง[10]หรือ พ.ต. เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ นายทหารที่ถูกเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตของผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร มีปมสังหารเกี่ยวกับประเด็นขัดแย้งผลประโยชน์ของโครงการบ่อบำบัดน้ำเสียที่จังหวัดยโสธร พล.ต.อ.พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติในสมัยนั้น ได้สั่งโอนคดีมาให้กองปราบปรามเป็นผู้รับผิดชอบซึ่งตอนนั้น พล.ต.ต.อัศวิน ขวัญเมืองทำหน้าที่ผู้บังคับการอยู่ ระดมนักสืบฝีมือดีและทีมพิสูจน์หลักฐาน สืบพยานหลักฐาน จนได้ข้อสรุปว่า ผู้พันตึ๋งเป็นผู้ลงมือสังหาร จึงได้สั่งการให้กำลังคอมมานโดกองปราบฯ พร้อมหมายศาลเข้าจับกุม ผู้พันตึ๋ง ในค่ายมวยย่านเหม่งจ๋าย

-  คดีสมคิด พุ่มพวง[11] ฆาตกรต่อเนื่องสังหารเหยื่อที่เป็นผู้หญิงหลายรายอย่างโหดเหี้ยม ก่อคดีหลายจังหวัด ในขณะนั้น พล.ต.ต.อัศวิน ขวัญเมือง ที่ดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการสอบสวนกลางในขณะนั้น เป็นหนึ่งในทีมจับกุม ได้เบาะแสว่า นายสมคิด พุ่มพวง เป็นผู้ก่อเหตุและได้หลบหนีไปอยู่จังหวัดชัยภูมิ และได้นำทีมบุกจับกุมขณะที่พาหมอนวดสาวไปร่วมหลับนอนในโรงแรมแห่งหนึ่ง และสอบสวนจนนายสมคิดรับสารภาพทุกข้อกล่าวหาในการกระทำความผิดต่อเหยื่อทุกราย

- คดีแหม่มชาวรัสเซีย[12] 2 คนถูกยิงเสียชีวิตที่หาดจอมเทียน พล.ต.ท.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ในขณะนั้น ได้นำกำลังตรวจสอบที่เกิดเหตุ สืบหาพยานหลักฐาน ติดตามร่องรอย สอบปากคำจากพยาน คลี่คลายคดีได้ภายใน 7 วัน และสามารถจับกุมตัวผู้กระทำความผิดได้คือ นายอนุชิต ล้ำเลิศ โดยสอบสวนจนรับสารภาพว่าลงมือทำไปเพื่อชิงทรัพย์ และยอมจำนนด้วยหลักฐานและให้การรับสารภาพในความผิด


บทบาทในฐานะผู้ว่าารกรุงเทพ

ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร  กำกับดูแลกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ และดูแลงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย งานเทศกิจ งานปกครองและทะเบียน โดยจัดระเบียบความเรียบร้อยของบ้านเมืองด้วยจัดระเบียบทางเท้า จัดระเบียบหาบเร่แผงลอยทั่วทั้งกรุงเทพฯ ให้ประชาชนเดินทางสัญจรได้อย่างสะดวก และพัฒนาสภาพแวดล้อมรอบเกาะรัตนโกสินทร์บริเวณคลองโอ่งอ่าง เพื่อให้พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวในกรุงเทพฯ

ต่อมาในวันที่ 18 ตุลาคม 2559 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ให้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 16 จนถึงปัจจุบัน และมีนโยบาย “ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที” ที่มี 5 นโยบายทันใจ 19 ภารกิจผลักดันทันที และยังได้ดูแลการจัดพื้นที่บริหารจัดการมณฑลพิธีท้องสนามหลวงจนถึงวันงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ

ในปี 2561 ก็ได้ประกาศสานต่อนโยบาย NOW ทำจริง เห็นผลจริง ผลงานเปลี่ยนกรุงเทพฯ ด้วยนโยบาย  “ผลักดันทันใจ แก้ไขทันที” และ “NOW ทำจริง เห็นผลจริง” ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปัจจุบัน (ปี 2564) ที่ทำให้กรุงเทพฯ เปลี่ยนไปแล้วอย่างชัดเจน  ดังนี้

“คลอง” ภาพรวมดีขึ้น  อย่างเช่น คลองโอ่งอ่าง[13] (ได้รับรางวัล 2020 Asian Townscape Awards จาก UN-Habitat Fukuoka) คลองคูเมืองเดิม (คลองหลอด) [14]คลองผดุงกรุงเกษม[15] คลองลาดพร้าว  คลองยายสุ่น[16] ที่เปลี่ยนจากคลองน้ำเสียและคลองระบายน้ำ ฟื้นคืนชีวิตคลอง ให้คนอยู่กับคลองได้เหมือนในอดีต เชื่อมย่าน เชื่อมคน เชื่อมการเดินทาง ให้คนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันได้มากขึ้น โดยพัฒนาคลองให้เป็นพื้นที่สาธารณะ[17] ที่ทุกๆ คน ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจในเมือง ใช้เดินเล่น ออกกำลังกาย นั่งเล่นริมน้ำ นัดพบปะพูดคุยกันได้ด้วย โดยคลองกำลังพัฒนาอีกคือ คลองช่องนนทรี[18] ที่จะเปลี่ยนจากคลองระบายน้ำ เป็นคลองสวนสาธารณะที่ยาวที่สุด มีระบบบำบัดน้ำเสีย แยกน้ำดีออกจากน้ำเสีย นำน้ำที่บำบัดไปใช้ที่สวนลุมพินี เพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองด้วยต้นไม้ใหญ่ และเพิ่มพื้นที่ริมคลองให้คนเมืองได้ใช้เป็นที่พักผ่อนออกกำลังกาย  นอกจากนี้ ยังมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาคลองต่ออีกทั้ง 50 เขต

“การคมนาคม” เชื่อมโครงข่ายคมนาคม ล้อ ราง เรือ [19]เชื่อมต่อการเดินทางจากปริมณฑลเข้ามายังกรุงเทพ และเชื่อมต่อการเดินทางในกรุงเทพ ทั้งการขนส่งสาธารณะและเส้นทางคมนาคมที่สะดวกมากขึ้น ด้วยการพัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย (สายสีเขียวและสีทอง) 30 สถานี เส้นทางเดินเรือโดยสารสาธารณะ 2 เส้นทาง ที่คลองผดุงกรุงเกษม และคลองภาษีเจริญ โครงข่ายถนนสายหลักตามแนวฝั่งตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า) และศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์และป้ายรถเมล์อัจฉริยะ (Smart Bus Shelter)

-    พัฒนาเส้นทางเดินรถไฟฟ้า 2 สาย สายสีเขียวและสายสีทอง [20] เพิ่มความสะดวกในการเดินทางจากปริมณฑลเข้ามาในกรุงเทพ และเส้นทางฝั่งธนบุรี โดยการเดินรถไฟฟ้าสายสีเขียวที่ใช้เดินทางทั้งจากจังหวัดสมุทรปราการและปทุมธานีเข้ามาในกรุงเทพได้สะดวกมากขึ้นหรือจะเดินทางข้ามเมืองไปมาได้สะดวกมากขึ้นเช่นกัน  รถไฟฟ้าสายสีเขียว รวมระยะทาง 2 ช่วง 25 กม. 27 สถานี ช่วงที่ 1 เดินทางจากจังหวัดสมุทรปราการ (สถานีเคหะสมุทรปราการ) ถึงสถานีแบริ่ง และช่วงที่ 2 ใช้เดินทางจากจังหวัดปทุมธานี (สถานีคูคต) ถึงหมอชิต (สถานีห้าแยกลาดพร้าว) และยังพัฒนาเส้นทางรถไฟฟ้าสายทอง ระยะทาง 2.8 กม. 3 สถานี ที่เชื่อมรถไฟฟ้าสายสีเขียว สายสีแดง และในอนาคตจะเชื่อมโยงสีม่วง ลดปัญหาการจราจรในเส้นทางถนนเจริญนครและถนนกรุงธนบุรี

-    พัฒนาเส้นทางเดินเรือโดยสารในคลอง 2 เส้นทาง เส้นทางที่ 1 ที่ผดุงกรุงเกษม  โดยนำเรือโดยสารไฟฟ้า 12 ลำ มาให้บริการประชาชนใช้เดินทางจากสถานีหัวลำโพงถึงตลาดเทวราช รวมระยะทาง 5 กม. 11 ท่า สามารถเชื่อมต่อรถไฟฟ้า MRT และรถไฟชานเมือง ที่สถานีหัวลำโพง เชื่อมต่อเรือแสนแสบที่ท่าเรือกระทรวงพลังงาน และเชื่อมต่อเรือด่วนเจ้าพระยาที่ท่าเรือตลาดเทวราช และเส้นทางที่ 2 ที่คลองภาษีเจริญ  รวมระยะทาง 11.5 กม. 15 ท่า ให้บริการเรือดีเซล 10 ลำ และพัฒนาเส้นทางเดินเรือต่อที่คลองแสนแสบ[5][21] จากท่าเรือวัดศรีบุญเรืองถึงท่าเรือสำนักงานเขตมีนบุรี โดยเดินเรือไฟฟ้า 12 ลำ และมีแผนเดินหน้าต่อพัฒนาที่คลองแสนแสบส่วนต่อขยายสถานีวัดศรีบุญเรืองถึงมีนบุรี

-    พัฒนาป้ายรถโดยสารประจำทางเดิม ให้เป็นศาลาที่พักผู้โดยสารรถเมล์ (Smart Bus Shelter) และป้ายรถเมล์อัจฉริยะที่สะดวก มีข้อมูลสายรถเมล์ที่ผ่าน เส้นทางเดินรถ จุดหมายที่รถเมล์ผ่าน  ติดตั้งแล้ว 500 ป้าย ในพื้นที่เขตจตุจักร  พญาไท ราชเทวี บางรัก ปทุมวัน ดินแดง ห้วยขวาง วัฒนา คลองเตย และสาทร และปรับปรุงศาลาที่พักรอรถโดยสารประจำทางใหม่อีก 350 หลัง มีไฟฟ้าส่องสว่าง มีกล้อง CCTV มีที่ชาร์ทแบตเตอรี่โทรศัพท์ ทำให้ประชาชนสะดวกปลอดภัยระหว่างรอรถโดยสารประจำทาง และพัฒนาปรับปรุงต่อให้ครบทุกศาลาที่พักรอรถโดยสารประจำทั่งกรุงเทพฯ 

“ถนน” มีการก่อสร้างโครงข่ายถนนสายหลักตามแนวตะวันตก-ตะวันออก (ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า)  ตั้งแต่ทางต่างระดับถนนศรีนครินทร์-กรุงเทพกรีฑา ถึง

ถนนเจ้าคุณทหาร ช่วยแก้ไขปัญหารถติดฝั่งกรุงเทพตะวันออกให้รองรับรถได้ถึง 200,000 คันต่อวัน และยังคงก่อสร้างปรับปรุงถนนอีก 8 เส้นทาง เช่น ทางหลวงท้องถิ่นระหว่างถนนวิภาวดีรังสิตกับถนนพหลโยธิน[22] และถนนรามคำแหง 24 - ถนนหัวหมาก เพื่อเดินหน้าพัฒนาเส้นทางคมนาคมแก้ไขรถติดในพื้นที่ที่ผู้ใช้สัญจรจำนวนมาก และก่อสร้าง “ทางเชื่อม” จากพื้นที่ปิดล้อมเส้นทางจำกัดไม่สอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองที่บริเวณศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติกับถนนกำแพงเพชร 6 ทางเชื่อมศูนย์ราชการกับถนนประชาชื่น 10 ทางเชื่อมถนนกาญจนาภิเษกกับพุทธมณฑลสาย 2 ทางเชื่อมถนนพุทธมณฑลสาย 2 กับถนนพุทธมณฑลสาย 3[5][23] และยังแก้ไขปัญหารถติดบริเวณจุดตัดทางแยก ด้วยการก่อสร้าง “สะพาน-ทางลอด” เปลี่ยน “แยกรถติด” ให้เป็นสะพานหรือทางลอด 3 แยกแล้ว และกำลังปรับปรุงอีก 6 แยก เพื่อแก้ไขปัญหารถติดบริเวณจุดตัดทางแยกที่แยกมไหศวรรย์ แยกไฟฉาย และแยกถนนพัฒนาการ-รามคำแหง-ถาวรธวัช

“สายสื่อสาร” มีการนำสายสื่อสารลงดินในหลายถนน เช่นที่ ถนนราชดำริ – สถานีย่อยคลองเตย ถนนนานาเหนือ (ถ.สขุมวิท-คลองแสนแสบ) ถนนพิษณุโลก (แยกพาณิชยการพระนคร-แยกยมราช) ถนนชิดลม (ถนนสาทร-ถนนเจริญราษฎร์) ถนนราชปรารภ (ถนนศรีอยุธยา-แยกประตูน้ำ) ถนนศรีอยุธยา (ถนนพญาไท-ถนนราชปรารภ) ถนนพระราม (ถนนพญาไท-สะพานกษัตริย์) และเดินหน้าสำรวจถนนนำสายสื่อสารลงดินเพิ่ม เพื่อจัดระเบียบเมืองและเพื่อความปลอดภัย

“ระบบการระบายน้ำ” แก้ไขปัญหาน้ำท่วมใน กทม. โดยใช้วิศวกรรมเชิงโครงสร้าง มาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำให้ดีมากขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่  เพิ่มเส้นทางการระบายน้ำที่เหมือนมีแม่น้ำอยู่ใต้ดินและช่วยเพิ่มความเร็วในการระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้มากขึ้น มีการก่อสร้างท่อเร่งระบายน้ำ (Pipe Jacking) ที่ช่วยเพิ่มท่อการระบายน้ำขนาดใหญ่ที่มีความสามารถในการเร่งระบายน้ำได้มากขึ้น และยังก่อสร้างพื้นที่รองรับน้ำเพิ่มในพื้นที่ กทม. เพื่อช่วยให้น้ำไม่ท่วมขังในพื้นที่เป็นเวลานาน โดยจัดทำ “แก้มลิง” ทั้งบนดิน และใต้ดินที่เรียกว่า “ธนาคารน้ำใต้ดิน” (Water Bank) เป็นที่กักเก็บน้ำขนาดใหญ่ใต้ดิน ที่ช่วยเร่งระบายน้ำที่ท่วมขังได้เร็วขึ้น และยังมีการสร้างและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ บ่อสูบน้ำ และเพิ่ม

เครื่องสูบน้ำในจุดต่าง ๆ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ให้ดีมากขึ้น โดยก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำขนาดใหญ่แล้ว 1 แห่งที่คลองบางซื่อ กำลังก่อสร้างอีก 4 แห่ง  Pipe Jacking มีแล้ว 9 แห่ง เช่น สุขุมวิท 63 (เอกมัย)  แยกเกษตรศาสตร์  ถนนสุวินทวงศ์ ถนนศรีอยุธยา ถนนพระราม 6 กำลังก่อสร้างอีก 3  แห่ง  และแก้มลิง 34 แห่ง เช่น ธนาคารใต้ดินบริเวณวงเวียนบางเขน ธนาคารน้ำใต้ดินปากซอยสุทธิพร และ แก้มลิงหมู่บ้านสัมมากร  บึงร.1 พัน 2 รอ. บึงน้ำประชานิเวศน์ บึงรางเข้ บึงเสือดำ และมีแผนเดินหน้าพัฒนาแก้ไขปัญหาน้ำท่วมทั้งระบบแบบยั่งยืน

“พื้นที่สีเขียว” เพิ่มพื้นที่สีเขียวจาก 6 ตร.ม.ต่อคน เพิ่มได้ในปี 2564 เป็น 7.30 ตร.ม.ต่อคน และ มีแผนเดินหน้าเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ได้ 9 ตร.ม.ต่อคน ตามมาตรฐาน WHO โดยสร้างสวนสาธารณะเพิ่ม 8 สวนให้เป็นที่พักผ่อนของคนกรุงเทพฯ เช่น สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบางบอน 100 ไร่ สวนสิริภิรมย์ 78.2 ไร่ สวนบางแคภิรมย์ 70 ไร่ และพัฒนาเส้นทางรถไฟเก่าบริเวณสะพานพระปกเกล้าที่ถูกปล่อยร้างมานานทำเป็น สวนสาธารณะลอยฟ้า มีจุดชมวิวกลางแม่น้ำเจ้าพระยา สถานที่พักผ่อนและออกกำลังกายของคนทุกวัย และยังเพิ่มเส้นทางการท่องเที่ยวจากฝั่งพระนคร-ฝั่งธนบุรี ตั้งแต่ถนนคนเดินคลองโอ่งอ่าง – ตลาดสำเพ็ง – ถนนเยาวราช – ตลาดน้อย - สวนลอยฟ้าเจ้าพระยา – ชุมชนกุฎีจีน (กะดีจีน) และยังผลักดันเชื่อม 3 สวนสาธารณะใหญ่ สวนจตุจักร สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และสวนวชิรเบญทัศ ให้เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่สุดในประเทศไทย ระดับมหานคร เป็นอันดับ 3 ของโลก และยังพัฒนาคลองช่องนนทรี ให้เป็นสวนสาธารณะคลองที่ยาวที่สุดแห่งแรกของไทย มีความยาวถึง 4.5 กม. พื้นที่สีเขียว เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้และแหล่งพักผ่อนให้กับชุมชนและคนทำงาน เพิ่มทางวิ่ง/จักรยาน ระยะทางไป-กลับ มากถึง 9 กิโลเมตร ใช้คลองบำบัดน้ำตามธรรมชาติได้มากกว่าเดิม รวมทั้งเพิ่มทางเชื่อมต่อผู้คนในย่านการค้า

“สาธารณสุข” ขยายศักยภาพการให้บริการทั้งโรงพยาบาลในสังกัด กทม. และศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อให้ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของประชาชน และให้ประชาชนเข้าถึงระบบการบริการในทุกพื้นที่เขตให้มากที่สุด  โดยก่อสร้างอาคาร ขยายเตียง และเปิดศูนย์การรักษาเฉพาะทาง และพัฒนาระบบการบริการออนไลน์เพิ่มความสะดวกในการเข้ารับบริการ

1.      โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ เปิดศูนย์ตรวจรักษาผ่าตัดผ่านกล้อง ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ อาคารเวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู

2.      โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ สถานที่พักฟื้นผู้สูงอายุ และขยายเตียง ผู้ป่วยใน 100 เตียง

3.      โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ เปิดศูนย์สุขภาพ

4.      โรงพยาบาลคลองสามวา เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคทั่วไป

5.      โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก ตรวจรักษาโรคทั่วไป

6.      โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก และเปิดศูนย์ไตเทียม หออภิบาลผู้ป่วยหนัก

7.      คลินิกมลพิษทางอากาศ เปิดในโรงพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลกลาง

8.      พัฒนาศูนย์การแพทย์ชั้นคลินิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช[8]

และยังมีการพัฒนาระบบการบริการทางสาธารณสุข เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมีระบบ Smart OPD บริการนัดหมายล่วงหน้าเพื่อพบแพทย์ภายใน 60 นาที ทำบัตรผู้ป่วยออนไลน์ ตรวจสอบสิทธิการรักษา แสดงคิวนัด และส่งยาถึงบ้าน Telemedicine  และมีระบบบริการเจาะเลือดถึงบ้าน (Mobile Lab) ให้กับผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และผู้ป่วยติดเตียง ที่ รพ.ราชพิพัฒน์ และจะขยายการบริการให้ครบทุกโรงพยาบาล ในสังกัด กทม. และทุกศูนย์บริการสาธารณสุข

ในปี 2562 ที่มีสถานการณ์วิกฤตของการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้ผลักดันให้มีการทำระบบคัดกรอง BKK COVID-19 เพื่อประเมินความเสี่ยงการติดเชื้อการตรวจหาเชื้อโควิด-19 เชิงรุก ด้วยการบริการ SWAB ถึงบ้านกับหมอแล็บแพนด้า และช่วงที่สถานการณ์วิกฤตเพิ่มมากขึ้น ได้ผลักดันให้มีการขยายศักยภาพโรงพยาบาลรองรับผู้ป่วยโควิด จัดตั้ง ICU สนาม ด้วยนวัตกรรม Modular ICU 3 แห่ง 343 เตียง จัดตั้งโรงพยาบาลสนาม 13 แห่ง Hospitel ศูนย์พักคอย 62 แห่ง จัดทีมปฏิบัติการเชิงรุก (Bangkok CCRT) เพื่อกระจายลงพื้นที่ตรวจหาเชื้อเชิงรุก ฉีดวัคซีนให้กับคนในชุมชนพื้นที่เสี่ยง และจัดส่งยาอาหารให้ผู้ป่วยที่รักษาตัวที่บ้าน จัดเทศกิจอาสาช่วยเหลือรับ-ส่งผู้ป่วย พัฒนาระบบ BKK covid19 Connect เพิ่มช่องทางแจ้งข้อมูลเพื่อเข้ารับการรักษา และพัฒนาระบบ BKK HI Care บริการผู้ป่วยที่พักรักษาตัวที่บ้าน พร้อมจัดทำระบบการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด โดยจัดทำระบบลงทะเบียนเปิดรับการบริจาค BKK Help และยังผลักดันการจัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีนนอกโรงพยาบาลเพื่อกระจายวัคซีนให้เข้าถึงประชาชนมากที่สุด โดยร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีน ไทยร่วมใจ กรุงเทพฯ ปลอดภัย รวมทั้งได้จัดหน่วยฉีดวัคซีนเคลื่อนที่ด้วยรถ BMV (BKK Mobile Vaccination Unit)[24] และหน่วยเคลื่อนที่ฉีดวัคซีนผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ที่มีศูนย์บริการสาธารณสุขใกล้บ้านเข้าไปฉีดให้ถึงบ้านประชาชน และพัฒนาระบบการลงทะเบียนฉีดวัคซีนผ่านแอปพลิเคชัน Line OA และ QueQ  ที่นอกจากจะพัฒนาระบบการรักษาในสถานการณ์วิกฤตแล้ว ยังได้ผลักดันให้มีเปิดรับบุคลากรภายนอก ทั้งพยาบาล พนักงานช่วยงานด้านสาธารณสุขและธุรการ[25] มาช่วยเสริมกำลังให้กับทีมแพทย์ พยาบาล

“โรงเรียน กทม.” เพิ่มห้องเรียนสองภาษา 74 โรงเรียน ส่งไปเรียนภาษาอังกฤษในต่างประเทศ ทั้งสิงคโปร์ และออสเตรเลีย เพิ่มหลักสูตรฝึกอาชีพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 23 โรงเรียน พร้อมมีหลักสูตรเรียนเสริมทักษะ ทวิศึกษา เรียนสายสามัญควบคู่สายอาชีพ จบมาได้ 2 วุฒิ และเพิ่มโอกาสการศึกษาให้เด็กทุกคนที่อาศัยในกรุงเทพ  เพิ่มหลักสูตรเรียนร่วม[26]สำหรับนักเรียนที่ต้องการดูแลเป็นพิเศษกับนักเรียนปกติ 155 โรงเรียน และให้ทุนเอราวัณสำหรับเด็กนักเรียนสังกัดโรงเรียน กทม. เรียนจบบรรจุเป็นครู กทม. และให้ทุน “ช้อนครู” โดยไปช้อนหานักศึกษาปริญญาตรี ปี 5 ที่เรียนด้านการศึกษามีผลการเรียนดีเด่น มอบทุนเรียนปีสุดท้ายและให้บรรจุเป็น ครู กทม.

นอกจากนี้  ได้เพิ่มสถานีดับเพลิงให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อจะได้เข้าช่วยเหลือระงับเหตุสาธารณภัยต่าง ๆ ได้อย่างทันท่วงที โดยเพิ่มแล้ว 5 สถานี สถานีดับเพลิงฯ ดอนเมือง สถานีดับเพลิงฯ พหลโยธิน สถานีดับเพลิงฯ เฉลิมพระเกียรติ เขตประเวศ สถานีดับเพลิงฯ ร่มเกล้า และสถานีดับเพลิงฯ ราษฎร์บูรณะ และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 7 สถานี จะเดินหน้าพัฒนาสร้างความปลอดภัยในทุกพื้นที่  และยังพัฒนาเพิ่มไฟฟ้าส่องสว่างในจุดเปลี่ยวทั่ว กทม. ติดตั้งไฟส่องสว่าง ใหม่ 5,998 ดวง และซ่อมแซม 141,037 ดวง โดยติดตั้งไฟส่องสว่าง ในสวนสาธารณะ 179 แห่ง ติดตั้งไฟส่องสว่าง บนสะพานลอย 723 แห่ง ติดตั้งไฟส่องสว่าง บนถนน 694 เส้น และติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ในซอย 5,749 ซอย และตรอก 133 ตรอก และติดตั้งกล้อง CCTV ใหม่เพิ่มกว่า 20,000 กล้อง แบบเชื่อมต่อศูนย์ควบคุม 13  ศูนย์ ครบทุกตัวกว่า 62,000 กล้อง ครอบคลุมพื้นที่ทั่ว กทม.และพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนกรุงเทพฯ อย่างต่อเนื่อง โดยสร้างศูนย์สร้างสุขทุกวัยครบทั้ง 50 เขต รวม 66 แห่ง เพิ่มพื้นที่บริการนันทนาการและศูนย์กีฬาที่ออกกำลังกายใกล้ชุมชน และจัดตั้งโรงเรียนฝึกอาชีพแห่งใหม่ที่ประเวศ เปิดสอนวิชาชีพให้กับประชาชนที่ต้องการสร้างอาชีพเสริมรายได้ให้กับครอบครัว

แก้ปัญหาการกำจัดขยะมูลฝอย ลดพื้นที่การฝังกลบ ลดการแพร่เชื้อโรคและลดผลกระทบต่อคนในชุมชนต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาวิธีการกำจัดขยะ ใช้เทคโนโลยีเชิงกล-ชีวภาพ และใช้เทคโนโลยีเตาเผาพลังงานไฟฟ้า และแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 โดยมีส่วนร่วมในการวางแผนปฏิบัติการกับ 23 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้เกิดแผนการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5ของกรุงเทพมหานคร และพัฒนาระบบการรายงานคุณภาพอากาศของ กทม.ด้วย แอปพลิเคชัน Air BKK และ ติดตั้งเครื่องตรวจวัดฝุ่น PM 2.5 ในสวนสาธารณะ 20 แห่ง ครบทุกจุดทั้ง 50 สำนักงานเขต รวมทั้งพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียใน กทม. แล้ว 2 แห่ง ที่มีนบุรี และธนบุรี


บทบาทที่ได้รับ

  • พ.ศ. 2520 (ร.ต.ต.) รอง สวส. สน.สำเหร่ (หัวหน้าสายสืบ)
  • พ.ศ. 2522 (ร.ต.ท.) รอง สวส. สภ.อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
  • พ.ศ. 2524 รอง สวป. สภ.อ.เมืองนครปฐม
  • พ.ศ. 2525 (ร.ต.อ.)
  • พ.ศ. 2526 สว.ผ.5 กก.สส.บก.ภ.3 จ.นครปฐม
  • พ.ศ. 2528 (พ.ต.ต.) สว. สภ.อ.ด่านช้าง (หัวหน้า สภ.อ.) จ.สุพรรณบุรี
  • พ.ศ. 2531 (พ.ต.ท.)
  • พ.ศ. 2532 รอง ผกก.วท.บก.ภ.3 จ.นครปฐม
  • พ.ศ. 2534 (พ.ต.อ.) ผกก.วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
  • พ.ศ. 2536 รกน.ผกก.สส.ภ.7 จ.นครปฐม
  • พ.ศ. 2538 รอง ผบก.ป.
  • พ.ศ. 2541 (พล.ต.ต.) ผบก.ภ.เชียงราย
  • พ.ศ. 2542 ผบก.ป.
  • พ.ศ. 2544 ผู้ช่วย ผบช.ก.
  • พ.ศ. 2547 รอง ผบช.ก.
  • พ.ศ. 2549 (พล.ต.ท.) ผบช.ภ.2
  • พ.ศ. 2550 ผบช.น. (ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล)
  • พ.ศ. 2551 ผช.ผบ.ตร. (ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ)
  • พ.ศ. 2552 ที่ปรึกษา สบ10 (พล.ต.อ.)
  • พ.ศ. 2553 ได้รับพระราชทานยศ พลตำรวจเอก[27] ตำแหน่ง รอง ผบ.ตร. (รองผู้บัญชาตำรวจแห่งชาติ)
  • พ.ศ. 2556 รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
  • พ.ศ. 2559 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
  • พ.ศ. 2563 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ เนื่องจากการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ชีวิตครอบครัว

อัศวิน มีชื่อเรียกเล่น ๆ จากสื่อมวลชนว่า "บิ๊กวิน" มีบ้านพักส่วนตัวอยู่ที่จังหวัดนนทบุรี ชีวิตครอบครัวสมรสกับ นางวาสนา ขวัญเมือง มีบุตรชาย 3 คน ประกอบด้วย พ.ต.ต.อัษฎาวุธ ขวัญเมือง สว.กก.สส.บก.น.6 , นายสุกฤษฎิ์ ขวัญเมือง ปัจจุบันศึกษาอยู่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ร.ต.อ.พงศกร ขวัญเมือง โฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตประธานรุ่นนักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 53 อดีตประธานรุ่นนักเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 69 (นรต.69) เยาวชนดีเด่น พ.ศ. 2554 และอดีตรองสารวัตร(สอบสวน) สน.ทุ่งมหาเมฆ[28]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. [ลิงก์เสีย] เด้ง"อัศวิน"พ้นนครบาล ปมปราบพธม.ล้มเหลว ส่งเพื่อน"แม้ว"คุมม็อบ จากแนวหน้า
  2. เด็กสุเทพ'ไปไม่ถึงฝัน ส่อ'หลุด'เก้าอี้'ผบ.ตร.' 'อัศวิน'ปิ๋วพลาด'รอง ผบ.ตร.' 'ก.ตร.'เบรกไม่อนุมัติ!!
  3. โปรดเกล้าฯ48นายพลพงศพัศ-อัศวินพล.ต.อ. จากคมชัดลึก
  4. ปลด “ศรีวราห์” พ้น รรท.ผบช.ภ.1 ตั้ง “อัศวิน” เสียบแทน จากผู้จัดการออนไลน์
  5. [https://web.archive.org/web/20110102171325/http://www.komchadluek.net/detail/20101230/84380/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99.html เก็บถาวร 2011-01-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ตั้งฉายา'มือปราบไผ่เขียว'ให้'อัศวิน' จากคมชัดลึก]
  6. ทีมผู้บริหาร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร, หน้า 16 กทม.-จราจร. เดลินิวส์ ฉบับที่ 23,183: วันพุธที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2556 แรม 8 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง
  7. เกียรติคุณ พ่อตัวอย่างแห่งชาติ
  8. https://www.sanook.com/men/15597/
  9. Thailand, Teenee Media co Ltd. "อัศวินแถลงข่าวจับจิ๊บ ไผ่เขียว-ปปส.อายัดทรัพย์กว่า35ล". teenee.com.
  10. "เปิดตำนาน"ผู้พันตึ๋ง"อดีตนายทหารคนดัง!!เชือดโหด"ผู้ว่าฯปรีณะ"". Postjung.com.
  11. "ผู้ว่าฯ กทม. ย้อนความหลัง เผยสมคิดเป็นคนพูดจาดี ทำสาวหลงกล หลังเป็นผู้นำทีมจับเมื่อ 14 ปีก่อน". mgronline.com. 2019-12-18.
  12. "แกะรอยมือฆ่า 2 แหม่มรัสเซีย หลัง 48 ชั่วโมงผ่านไป". mgronline.com. 2007-02-26.
  13. "คลองโอ่งอ่างคว้ารางวัลต้นแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตเมืองของเอเชีย". PMDU. 2021-04-02.
  14. "คืบหน้าปรับปรุง "คูเมืองเดิม" เพื่อเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน ในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์". BLT Bangkok (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-01-15.
  15. 30 (2021-02-09). "กทม.เดินหน้าพลิกฟื้นคืนชีวิตให้'คลองผดุงกรุงเกษม' ให้เป็นเส้นทางเดินเรือสีเขียวเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สายแรกของไทย". ข่าวสด.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  16. "คลองยายสุ่น คลองต้นแบบแผนแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย และปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เป็นที่ปลอดภัย". BLT Bangkok (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-03-13.
  17. http://cmc.bangkok.go.th/bmaitev/web/uploads/75.pdf
  18. "ส่องโครงการสวนสาธารณะคลองช่องนนทรี ต้นแบบการพลิกฟื้นระบบนิเวศคลองแห่งแรกของไทย". BLT Bangkok (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-11-12.
  19. Srisaard, Muanchan (2020-07-17). "กทม. เร่งพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ล้อ ราง เรือ ยกระดับกรุงเทพฯ สู่มหานครสะดวกสบาย". aroundonline (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  20. "ดีเดย์...เปิดให้บริการเดินรถไฟฟ้า 2 สาย เชื่อมต่อทุกโหมดการเดินทาง "ล้อ ราง เรือ"". mgronline.com. 2020-12-16.
  21. "ขยายเดินเรือคลองแสนแสบถึงตลาดมีนบุรี ช่วยเลี่ยงสร้างรถไฟฟ้าสายสีส้ม จ่อเปิด 2 กม.แรก ม.ค.นี้". mgronline.com. 2018-11-22.
  22. "โครงการทางหลวงท้องถิ่น "พหลโยธิน-วิภาวดีรังสิต" ไปสนามบินดอนเมืองสะดวกขึ้น". mgronline.com. 2021-05-30.
  23. SUB_BUA (2021-05-07). "บูมฝั่งธนฯ รับเปิดถนน "วงแหวนฯ-สาย 2" ทุ่ม 3 พันล้านขยายโครงข่ายใหม่ถึงนครปฐม". ประชาชาติธุรกิจ.
  24. "รถฉีดวัคซีนถึงบ้าน ปูพรมกลุ่มเสี่ยง-คลัสเตอร์ในกรุง". Thai Post | อิสรภาพแห่งความคิด (ภาษาอังกฤษ).
  25. matichon (2021-08-09). "สมัครด่วน! กทม.รับพยาบาล-พนง.ช่วยงานด้านสาธารณสุข และธุรการ กว่า 1,000 อัตรา". มติชนออนไลน์.
  26. "กทม.สั่งโรงเรียนในสังกัดวางแผนการศึกษาดูแล"เด็กพิเศษ"". mgronline.com. 2018-06-18.
  27. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/B/002/19.PDF
  28. https://regional.kachon.com/85681[ลิงก์เสีย]
  29. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๓, เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๑๔ ข หน้า ๕, ๘ ธันวาคม ๒๕๕๓
  30. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๒๓ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๒๑, ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๙
  31. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๘ ข หน้า ๖, ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐
  32. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๓ ตอนที่ ๕๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๔๓, ๑๔ เมษายน ๒๕๒๙

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า อัศวิน ขวัญเมือง ถัดไป
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
(18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน)
ยังดำรงตำแหน่ง
พลตำรวจโท อดิศร นนทรีย์
ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล
(1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน พ.ศ. 2551)
พลตำรวจโท สุชาติ เหมือนแก้ว