ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าของกลุ่มเซ็นทรัล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ciwat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 110: บรรทัด 110:
* '''อีสต์''' ปรับมาจากร้านโฮมเวิร์ค สาขาภูเก็ตเดิมเมื่อ พ.ศ. 2556 ภายในประกอบด้วยซูเปอร์มาร์เก็ต "ท็อปส์ มาร์เก็ต" และโฮมเวิร์ค
* '''อีสต์''' ปรับมาจากร้านโฮมเวิร์ค สาขาภูเก็ตเดิมเมื่อ พ.ศ. 2556 ภายในประกอบด้วยซูเปอร์มาร์เก็ต "ท็อปส์ มาร์เก็ต" และโฮมเวิร์ค
* '''แอสทรัล''' เป็นอาคารศูนย์การค้าระดับบนที่เทียบเท่ากับศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี และเป็นอาคารศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดของโครงการ ภายในประกอบด้วยห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลที่ย้ายมาจากอาคารเฟสติวัล ศูนย์อาหารอีตไทย พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ อควาเรีย ภูเก็ต สวนสนุก ไตรภูมิ ธีมพาร์ค<ref>[http://cpn.listedcompany.com/newsroom/250720171813130884T.pdf แจ้งการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน - เซ็นทรัลพัฒนา]</ref> โรงภาพยนตร์ และโรงแรม โดยอาคารแอสทรัล ได้รับรางวัล BCI ASIA Top 10 Developers Awards 2017 <ref>[https://positioningmag.com/1134659 ซีพีเอ็น คว้ารางวัลใหญ่ระดับเอเชีย ด้านพัฒนาศูนย์การค้าที่โดดเด่น ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าปลีกของประเทศ]</ref><ref>[http://www.bciasiatop10awards.com/index.cfm/top-10-developers/2017/thailand/?countryid=11&year=2017 The BCI Asia Top 10 Awards: Top 10 Developers Awards 2017 - Thailand]</ref>
* '''แอสทรัล''' เป็นอาคารศูนย์การค้าระดับบนที่เทียบเท่ากับศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี และเป็นอาคารศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดของโครงการ ภายในประกอบด้วยห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลที่ย้ายมาจากอาคารเฟสติวัล ศูนย์อาหารอีตไทย พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ อควาเรีย ภูเก็ต สวนสนุก ไตรภูมิ ธีมพาร์ค<ref>[http://cpn.listedcompany.com/newsroom/250720171813130884T.pdf แจ้งการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน - เซ็นทรัลพัฒนา]</ref> โรงภาพยนตร์ และโรงแรม โดยอาคารแอสทรัล ได้รับรางวัล BCI ASIA Top 10 Developers Awards 2017 <ref>[https://positioningmag.com/1134659 ซีพีเอ็น คว้ารางวัลใหญ่ระดับเอเชีย ด้านพัฒนาศูนย์การค้าที่โดดเด่น ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าปลีกของประเทศ]</ref><ref>[http://www.bciasiatop10awards.com/index.cfm/top-10-developers/2017/thailand/?countryid=11&year=2017 The BCI Asia Top 10 Awards: Top 10 Developers Awards 2017 - Thailand]</ref>

=== เซ็นทรัล เอ็มบาสซี ===
{{แยก|เซ็นทรัล เอ็มบาสซี}}
{{กล่องข้อมูล ห้างสรรพสินค้า
|ชื่อ = เซ็นทรัล เอ็มบาสซี
| ภาพ = [[ไฟล์:ce_logo.png|250px]]<br/>[[ไฟล์:Central-embassy-real-building.jpg|250px]]
| caption =This Brings Me Here, Central Embassy
| ที่ตั้ง = 1031 [[ถนนเพลินจิต]] (ศูนย์การค้า)<br>88 [[ถนนวิทยุ]] (โรงแรม)<ref name="PHB">[https://bangkok.park.hyatt.com/en/hotel/home.html Park Hyatt Bangkok]</ref><br/>แขวงลุมพินี [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| เปิด = 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (พิธีเปิด)<br/>7 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (โรงภาพยนตร์)<br/>12 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 (โรงแรม)<ref name="PHB"/>
| สถานะ = เปิดให้บริการ
| ปิด =
| พื้นที่ = 144,000 ตารางเมตร
| เจ้าของอาคาร = กลุ่มธุรกิจบริหารสรรพสินค้า บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด
| บริหารอาคาร = บริษัท เซ็นทรัล เอ็มบาสซี พลาซา จำกัด และ บริษัท เซ็นทรัล เอ็มบาสซี โฮเต็ล จำกัด
| ที่จอดรถ = 1,100 คัน
| ชั้น = 41 ชั้น แบ่งเป็น<br/>โซนศูนย์การค้า 13 ชั้น รวมชั้นใต้ดิน<br/>โรงแรมปาร์คไฮแอท 32 ชั้น
| เนื้อที่ = 35 ไร่
| กรรมสิทธิ์ที่ดิน = เจ้าของกรรมสิทธิ์
| เว็บ = [http://www.centralembassy.com เซ็นทรัล เอ็มบาสซี]
}}

'''เซ็นทรัล เอ็มบาสซี''' ({{lang-en|Central Embassy}}) เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย กลุ่มธุรกิจบริหารสรรพสินค้า บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด และ[[สรรพสินค้าเซ็นทรัล|บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด]] ตั้งอยู่บน[[ถนนเพลินจิต]] มีขนาดพื้นที่ประมาณ 9 ไร่ โครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเพลินจิตซิตี้ ที่นำโครงการโดย [[ยูนิเวนเจอร์|บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด]] เจ้าของอาคารปาร์คเวนเจอร์ ดิ อีโคเพล็กซ์ ออน วิทยุ รวมทั้งโรงแรมโอคุระเพรสทีจ กรุงเทพฯ และโครงการเซ็นทรัลแบงค็อก ของกลุ่มเซ็นทรัล ที่เชื่อมต่อศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี ห้างเซ็นทรัล ชิดลม และศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลเวิลด์]] เข้าเป็นพื้นที่เดียวกัน{{อ้างอิง}}

โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี มีจุดเริ่มต้นมาจาก เมื่อปี พ.ศ. 2549 ที่กลุ่มเซ็นทรัลได้ชนะการประมูลที่ดินบริเวณด้านหน้าของ [[สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย]] ติดกับถนนเพลินจิต โดยได้รับการจัดอันดับจากสื่อมวลชนหลายแขนงว่าเป็นที่ดินที่มีราคาสูงที่สุดในประเทศไทยในขณะนั้น{{อ้างอิง}} ซึ่งทางสถานทูตชี้แจงว่าสาเหตุที่ขายออกเพราะต้องการนำเงินจากการขายที่ดินไปปรับปรุงอาคารสถานทูตเก่าที่อยู่ในสภาพทรุดโทรม หลังจากชนะการประมูลแล้ว [[กลุ่มเซ็นทรัล]] ได้มอบหมายให้[[เซ็นทรัลพัฒนา]]เป็นผู้รับผิดชอบโครงการนี้ แต่เนื่องจากในขณะนั้นเซ็นทรัลพัฒนาเองมีโครงการที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการหลายโครงการ กลุ่มเซ็นทรัลจึงนำโครงการมาบริหารและพัฒนาด้วยตนเอง โดยจัดตั้ง บริษัท เซ็นทรัล เอ็มบาสซี พลาซา จำกัด สำหรับบริหารศูนย์การค้า และ บริษัท เซ็นทรัล เอ็มบาสซี โฮเต็ล จำกัด สำหรับบริหารโรงแรม โดยความร่วมมือกับกลุ่มโรงแรมไฮแอท ส่วนเซ็นทรัลพัฒนาซึ่งมีประสบการณ์ในการบริหารศูนย์การค้าจะเป็นผู้ช่วยดูแลโครงการ{{อ้างอิง}}

ตามแผนแล้วเซ็นทรัล เอ็มบาสซีมีแผนเปิดศูนย์การค้าอย่างเป็นทางการในปลายปี พ.ศ. 2556 แต่เนื่องจากความล่าช้าในการก่อสร้าง ทำให้ต้องเลื่อนการเปิดศูนย์การค้ามาเป็นช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 แต่หลังจากที่กลุ่ม [[กปปส.]] ได้เริ่มปักหลักชุมนุมในพื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครชั้นใน ทำให้การก่อสร้างโครงการต้องหยุดชะงักลงตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และทำให้เซ็นทรัล เอ็มบาสซีต้องเลื่อนเปิดศูนย์การค้าอีกครั้ง เป็นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2557 แต่จากสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ ทำให้กลุ่มเซ็นทรัลต้องเลื่อนการเปิดศูนย์การค้าอีกครั้งนับเป็นครั้งที่ 4 คือภายในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 หลังจากเหตุสงบลง กลุ่มเซ็นทรัลก็ได้ประกาศวันเปิดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี ซึ่งก็คือวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยในวันดังกล่าวจะมีร้านค้าบางส่วนเปิดทำการ{{อ้างอิง}}

ปัจจุบันทั้งตัวศูนย์การค้าและโรงแรมปาร์ค ไฮแอท กรุงเทพฯ ได้เปิดบริการครบทุกส่วนแล้ว ซึ่งกลุ่มเซ็นทรัลได้จัดงานเปิดตัวศูนย์การค้าและโรงแรมอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ภายใต้แนวคิด "นี่ คือสิ่งที่พาฉันมา" (This Brings Me Here)<ref>[http://www.krobkruakao.com/economy/43791 กลุ่มเซ็นทรัลเผยโฉมโรงแรม พาร์ค ไฮแอท กรุงเทพฯ] เว็บไซต์[[ครอบครัวข่าว 3|ครอบครัวข่าว]]</ref>

เซ็นทรัล เอ็มบาสซี เป็นอาคารศูนย์การค้าแบบตอนเดียว ออกแบบอาคารโดยบริษัทสถาปนิก อมานดา เลเวนเต จากประเทศอังกฤษ ตัวอาคารมีรูปทรงคล้ายกับสัญลักษณ์[[อนันต์]]เมื่อมองจากมุมมองด้านบน อันแสดงถึงการพัฒนาอย่างไม่สิ้นสุดของกลุ่มเซ็นทรัล ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน และก้าวไปยังอนาคต{{อ้างอิง}} โดยมีพื้นที่สำคัญ ได้แก่ อีตไทย ร้านสินค้าลักชูรี ร้านอาหาร ศิวิลัย ซิตี้คลับ โอเพ่น เฮาส์ โค ลิฟวิ่งสเปซ [[เอ็มบาสซี ดิโพลแมทสกรีน|โรงภาพยนตร์เอ็มบาสซี ดิโพลแมทสกรีน]] โดย[[เอไอเอส]] จำนวน 5 โรงภาพยนตร์ และโรงแรมปาร์ค ไฮแอท กรุงเทพฯ<ref name="PHB"/>
[[ไฟล์:Central Embassy Site Plan.jpg|600px|thumbnail|center|แบบพิมพ์เขียวจากมุมมองด้านบน ของบริเวณศูนย์การค้า]]
===== โครงการส่วนต่อขยายของเซ็นทรัล เอ็มบาสซี =====
ใน พ.ศ. 2560 [[สำนักการต่างประเทศและเครือจักรภพ|กระทรวงการต่างประเทศ]]แห่ง[[ประเทศอังกฤษ]] และรัฐบาลอังกฤษได้ประกาศขายที่ดินอันเป็นที่ตั้งของ[[สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย]]ในส่วนที่เหลือทั้งหมดจำนวน 9.2 เอเคอร์ หรือ 23 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา โดยมีผู้เข้าร่วมประมูลคือ [[กลุ่มทีซีซี|กลุ่มไทยเจริญคอร์ปอเรชัน]] และกลุ่มเซ็นทรัล โดยผู้ชนะการประมูลคือกลุ่มเซ็นทรัลและกลุ่มทุนฮ่องกงแลนด์ จาก[[ประเทศฮ่องกง]] ที่ประมูลไปในราคา 420 ล้านปอนด์ หรือตีเป็นเงินไทยกว่า 19,000 ล้านบาท ขึ้นแท่นราคาที่ดินสูงที่สุดในประเทศไทยที่ตารางวาละ 2.2 ล้านบาท และยังทำลายสถิติเดิมของราคาที่ดินสถานทูตอังกฤษเดิมที่กลุ่มเซ็นทรัลประมูลมาพัฒนาศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี ที่ราคา 900,000 บาทต่อตารางวา{{อ้างอิง}}

โดยที่ดินผืนดังกล่าวจะถูกนำไปพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบประสมอันประกอบด้วย ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า โรงแรม และอาคารชุดพักอาศัย โดยกลุ่มเซ็นทรัลจะเป็นผู้ลงทุนในส่วนโครงการทั้งหมด และกลุ่มฮ่องกงแลนด์ จะเป็นผู้ลงทุนในโครงการอาคารชุดพักอาศัย หรือคอนโดมิเนียม และเป็นนายหน้าในการขายโครงการให้กับผู้ที่สนใจจากต่างประเทศ{{อ้างอิง}}


=== โรบินสัน ไลฟ์สไตล์ ===
=== โรบินสัน ไลฟ์สไตล์ ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:12, 3 พฤษภาคม 2561

รายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าที่บริหารงานโดย บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด และบริษัทในเครือ

ศูนย์การค้า

ศูนย์การค้าที่บริหารงานโดย บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน)

สาขาที่ ชื่อสาขา เปิดบริการ พื้นทีใช้สอยทั้งหมด ที่ตั้ง รายละเอียด
1 เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว 30 เมษายน 2526 76,000 ตรม. กรุงเทพมหานคร ศูนย์การค้า สำนักงาน ศูนย์แสดงสินค้า และโรงแรมครบวงจร ซึ่งเป็นธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าปลีกแห่งแรกของบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน)[ต้องการอ้างอิง] ตั้งอยู่บริเวณแยกลาดพร้าว ช่วงริมถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร ต่อมา ได้ทำการปรับปรุงครั้งใหญ่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553
2 เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา พฤศจิกายน 2536 86,000 ตร.ม. ศูนย์การค้าตั้งอยู่บนถนนรามอินทรา บนพื้นที่ 86,000 ตารางเมตร ศูนย์การค้าชุมชนโดยประกอบด้วยห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล, ร้านค้า, ร้านอาหาร, และ โรงภาพยนตร์ 6 โรง โดยเน้นไปยังกิจกรรมครอบครัว เพื่อกระตุ้นให้มีการเข้าใช้บริการตลอดทั้งปี ทำให้ศูนย์การค้าเป็นที่พบปะสังสรรค์และพักผ่อนหย่อนใจร่วมกัน
3 เซ็นทรัลพลาซา บางนา ธันวาคม 2536 340,000 ตร.ม. ชื่อเดิม "เซ็นทรัล ซิตี้ บางนา" เป็นกรรมสิทธิ์โดยสมบูรณ์เมื่อปี 2544 โดยเป็นโครงการศูนย์การค้า อาคารสำนักงาน และที่พักอาศัย ตั้งอยู่ริมถนนเทพรัตน และติดกับบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาบางนา เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2536 โดยเป็นโครงการร่วมทุนระหว่างเซ็นทรัลพัฒนา กับกลุ่มผู้ถือหุ้นอื่น ๆ เพื่อพัฒนาโครงการศูนย์การค้า อาคารสำนักงาน และที่พักอาศัยแบบครบวงจรในหนึ่งเดียว ซึ่งหลังจากที่ผ่านพ้นช่วงปัญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจเมื่อ พ.ศ. 2540 เซ็นทรัลพัฒนาก็ได้เพิ่มทุน จนกลายมาเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในการบริหารโครงการโดยสมบูรณ์เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2544 และถือเป็นโครงการศูนย์การค้าที่สมบูรณ์แบบที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครด้านตะวันออก ต่อมา ได้ทำการปรับปรุงครั้งใหญ่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559[ต้องการอ้างอิง]
4 เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า มีนาคม 2538 350,000 ตร.ม. ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในฝั่งธนบุรี โครงการประกอบด้วยพื้นที่ค้าปลีกขนาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล อาคารสำนักงาน และโรงภาพยนตร์
5 เซ็นทรัลมารีนา กรกฎาคม 2538 62,000 ตร.ม. เมืองพัทยา,ชลบุรี ชื่อเดิม "เซ็นทรัล เฟสติวัล เซ็นเตอร์ พัทยา" เป็นศูนย์การค้าของ บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา แห่งแรกนอกเขตกรุงเทพมหานคร
6 เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต มีนาคม 2539 250,000 ตร.ม. เชียงใหม่ ชื่อเดิม "ตันตราภันฑ์ แอร์พอร์ต พลาซา" และ "เซ็นทรัล แอร์พอร์ต พลาซา" ตามลำดับ ซื้อต่อจากโครงการตันตราภัณฑ์ แอร์พอร์ต พลาซา เชียงใหม่
7 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ตุลาคม 2540 220,000 ตร.ม. กรุงเทพมหานคร ชื่อเดิม เซ็นทรัลพลาซา รัชดา-พระราม 3 ตั้งอยู่ริมถนนรัชดาภิเษก (เลียบทางด่วนพระราม 3) แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2540 ต่อมา ได้ทำการปรับปรุงครั้งใหญ่ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2560
8 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 3 ธันวาคม 2545 210,000 ตร.ม. ศูนย์การค้าขนาดใหญ่แห่งที่ 2 ของฝั่งธนบุรี ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 2 เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2545
9 เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ ธันวาคม 2546 300,000 ตร.ม. นนทบุรี ชื่อเดิม "จัสโก้ รัตนาธิเบศร์" "เซ็นทรัลทาวน์ เซ็นเตอร์ รัตนาธิเบศร์" และ "เซ็นทรัลทาวน์ รัตนาธิเบศร์" ตามลำดับ ซื้อต่อจากโครงการ Jusco รัตนาธิเบศร์
10 เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต 9 กันยายน 2547 120,000 ตร.ม. ภูเก็ต
11 เซ็นทรัลเวิลด์ ธันวาคม 2549 550,000 ตร.ม. กรุงเทพมหานคร ชื่อเดิม "เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์" และ "เซ็นทรัลเวิลด์พลาซา" ตามลำดับ เช่าต่อจากโครงการเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์
12 เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ 27 พฤศจิกายน 2551 310,000 ตร.ม. นนทบุรี ศูนย์การค้าตั้งอยู่บนถนนแจ้งวัฒนะ เขตตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เปิดบริการเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2551
13 เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช 23 มกราคม 2552 250,000 ตร.ม. เมืองพัทยา,ชลบุรี ศูนย์การค้าตั้งอยู่บริเวณริมชายหาดพัทยา จังหวัดชลบุรี
14 เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี 8 เมษายน 2552 250,000 ตร.ม. อุดรธานี ซื้อต่อจากโครงการเจริญศรีคอมเพล็กซ์,เฟส2เปิด 27 มี.ค. 2555
15 เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี 29 พฤษภาคม 2552 127,400 ตร.ม. ชลบุรี
16 เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น 3 ธันวาคม 2552 260,000 ตร.ม ขอนแก่น
17 เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย 30 มีนาคม 2554 110,000 ตร.ม. เชียงราย
18 เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก 20 ตุลาคม 2554 100,000 ตร.ม. พิษณุโลก
19 เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 14 ธันวาคม 2554 214,000 ตร.ม. กรุงเทพมหานคร เช่าเหมาอาคารศูนย์การค้าจาก แกรนด์ คาแนล แลนด์
20 เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี 11 ตุลาคม 2555 130,000 ตร.ม. สุราษฎร์ธานี
21 เซ็นทรัลพลาซา ลำปาง 30 พฤศจิกายน 2555 120,000 ตร.ม. ลำปาง
22 เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี 5 เมษายน 2556 140,000 ตร.ม. อุบลราชธานี
23 เซ็นทรัล ภูเก็ต - อีสต์ 24 สิงหาคม 2556 16,000 ตร.ม. ภูเก็ต
24 เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ 14 พฤศจิกายน 2556 260,000 ตร.ม. เชียงใหม่ ศูนย์การค้าแห่งที่สองของ บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา ในจังหวัดเชียงใหม่ มีสถาปัตยกรรมล้านนาผสมผสานอนาคตนิยม โดยใช้งบลงทุนทั้งโครงการกว่า 6,000 ล้านบาท บริเวณทางแยกศาลเด็ก เริ่มก่อสร้างต้นปี 2555 เปิดให้บริการในวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ เป็นศูนย์การค้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของภาคเหนือ รองจากอุทยานการค้ากาดสวนแก้ว อาคารหลักมีพื้นที่ 260,000 ม2 [1]
25 เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ 14 ธันวาคม 2556 295,000 ตร.ม. หาดใหญ่,สงขลา ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในจังหวัดสงขลา
26 เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย 29 มีนาคม 2557 90,000 ตร.ม. สมุย,สุราษฎร์ธานี ศูนย์การค้าแบบเปิด ออกแบบในลักษณะท่าเรือขนาดใหญ่ ขนาบข้างไปด้วยอาคารสองชั้นจำนวนสองอาคาร ใช้งบลงทุนกว่า 3,450 ล้านบาท เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการในวันที่ 29 มีนาคม 2557 เป็นที่เกิดเหตุระเบิดรถยนต์เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2558[2]
27 เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา 12 สิงหาคม 2557 180,000 ตร.ม. นครปฐม ศูนย์การค้า ตั้งอยู่บนถนนบรมราชชนนี บ้านคอราง ตำบลบางเตย อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
28 เซ็นทรัลพลาซา ระยอง 27 พฤษภาคม 2558 150,000 ตร.ม. ระยอง
29 เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต 28 สิงหาคม 2558 500,000 ตร.ม. นนทบุรี เป็นศูนย์การค้า ตั้งอยู่บริเวณทางแยกต่างระดับบางใหญ่ ในท้องที่หมู่ที่ 6 บ้านบางพุทรา ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี มีพื้นที่ 82,000 ตารางเมตร[3]
30 เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ 27 พฤศจิกายน 2558 160,000 ตร.ม. กรุงเทพมหานคร ศูนย์การค้าแบบเปิดขนาดใหญ่ริมถนนประดิษฐ์มนูธรรม เป็นโครงการศูนย์การค้าแบบเปิด (open-air) เป็นเซ็นทรัลเฟสติวัลสาขาแรกในเขตกรุงเทพมหานคร
31 เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช 28 กรกฎาคม 2559 125,000 ตร.ม. นครศรีธรรมราช
32 เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา 3 พฤศจิกายน 2560 355,000 ตร.ม. นครราชสีมา
33 เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย 23 พฤศจิกายน 2560 170,000 ตร.ม. สมุทรสาคร
สาขาที่ โครงการใหม่ มีดังนี้[4]
1 เซ็นทรัล ภูเก็ต - แอสทรัล กันยายน พ.ศ. 2561 ภูเก็ต
2 เซ็นทรัล ไอซิตี้ พ.ศ. 2561 278,000 ตร.ม. เมืองชาห์อลัม ,มาเลเซีย
3 เซ็นทรัล วิลเลจ ไตรมาส 3 ปีพ.ศ. 2562 40,000 ตร.ม. สมุทรปราการ
4 เซ็นทรัลพลาซา ราชพฤกษ์ พ.ศ. 2562 280,000 ตร.ม. นนทบุรี
5 ดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค พ.ศ. 2564 กรุงเทพมหานคร โครงการร่วมทุนกับเครือดุสิตธานี,เริ่มสร้างปี พ.ศ. 2562

เซ็นทรัล ภูเก็ต

รายชื่อศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าของกลุ่มเซ็นทรัล

เซ็นทรัล ภูเก็ต (อังกฤษ: Central Phuket) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่และศูนย์การค้าที่ทันสมัยและมีขนาดใหญ่ที่สุดบนเกาะภูเก็ตของกลุ่มเซ็นทรัล ภายใต้กรอบแนวคิด "จังหวะหัวใจของภูเก็ต" (The Beating Heart of Phuket) โดยมีพื้นที่โครงการรวมกว่า 100 ไร่ ประกอบไปด้วยอาคารศูนย์การค้า 3 อาคาร

เริ่มแรกโครงการดังกล่าวบริหารงานโดยห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล โดยตั้งเป้าให้เป็นจุดศูนย์รวมของความบันเทิงอันครบครันในเมืองภูเก็ต และต่อมา บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชัน จำกัด จึงเข้ามาขยายรูปแบบกิจการให้เป็นศูนย์การค้าแบบครบวงจร โดยเพิ่มอาคารศูนย์การค้าหลังที่สองที่ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามเข้ามา แต่หลังจากการปรับผังองค์กรใหม่ใน พ.ศ. 2557 อาคารดังกล่าวก็ถูกโอนให้เข้าไปเป็นความรับผิดชอบของห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลตามเดิม

ต่อมาใน พ.ศ. 2558 บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ได้ประกาศตั้งงบลงทุน 6,360 ล้านบาท ในการซื้อกิจการเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต ด้วยการซื้อสิทธิ์การเช่าที่ดินและอาคารในกรอบระยะเวลา 41 ปี ซึ่งการซื้อขายแล้วเสร็จเป็นของบริษัทในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558

เซ็นทรัล ภูเก็ต ประกอบด้วยอาคารหลักสามอาคาร ได้แก่

  • เฟสติวัล เดิมเป็นศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวัล ภูเก็ต โดยเป็นที่ตั้งของร้านค้าในกลุ่มเซ็นทรัล ซูเปอร์มาร์เก็ต "เซ็นทรัล ฟู้ด ฮอลล์" ศูนย์อาหาร และโรงภาพยนตร์เอสเอฟเอ็กซ์ โคลีเซียม ซีเนม่า จำนวน 7 โรง
  • อีสต์ ปรับมาจากร้านโฮมเวิร์ค สาขาภูเก็ตเดิมเมื่อ พ.ศ. 2556 ภายในประกอบด้วยซูเปอร์มาร์เก็ต "ท็อปส์ มาร์เก็ต" และโฮมเวิร์ค
  • แอสทรัล เป็นอาคารศูนย์การค้าระดับบนที่เทียบเท่ากับศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี และเป็นอาคารศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดของโครงการ ภายในประกอบด้วยห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลที่ย้ายมาจากอาคารเฟสติวัล ศูนย์อาหารอีตไทย พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ อควาเรีย ภูเก็ต สวนสนุก ไตรภูมิ ธีมพาร์ค[5] โรงภาพยนตร์ และโรงแรม โดยอาคารแอสทรัล ได้รับรางวัล BCI ASIA Top 10 Developers Awards 2017 [6][7]

โรบินสัน ไลฟ์สไตล์

โรบินสัน ไลฟ์สไตล์ (อังกฤษ: Robinson Lifestyle, ชื่อเดิม:โรบินสัน ไลฟ์สไตล์ เซ็นเตอร์) เป็นกลุ่มศูนย์การค้าที่บริหารงานโดย บริษัท โรบินสัน จำกัด (มหาชน) โดยเน้นทำเลเมืองรองที่ยังไม่มีศูนย์การค้าของ บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา เข้าไปเปิดสาขา[8] โดยโรบินสัน ไลฟ์สไตล์ มีสาขาทั้งหมดดังนี้

ชื่อสาขา วันที่เริ่มเปิดดำเนินการ[9] จังหวัดที่ตั้ง พื้นที่รวม
ภูเก็ต[a] 12 ตุลาคม พ.ศ. 2538 ภูเก็ต ไม่มีข้อมูล
นครศรีธรรมราช[b] 27 ตุลาคม พ.ศ. 2538 นครศรีธรรมราช 80,000 ตารางเมตร
หาดใหญ่[c] 1 ธันวาคม พ.ศ. 2538 สงขลา ไม่มีข้อมูล
ราชบุรี[d] 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ราชบุรี 22,000 ตารางเมตร
จันทบุรี 16 มกราคม พ.ศ. 2541 จันทบุรี 24,000 ตารางเมตร
ตรัง[e] 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตรัง 34,814.72 ตารางเมตร
สุพรรณบุรี 2 มีนาคม พ.ศ. 2555 สุพรรณบุรี 33,034 ตารางเมตร
กาญจนบุรี 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 กาญจนบุรี 33,700 ตารางเมตร
สกลนคร 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556 สกลนคร 33,000 ตารางเมตร
สระบุรี 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 สระบุรี 42,600 ตารางเมตร
สุรินทร์ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สุรินทร์ 36,000 ตารางเมตร
ฉะเชิงเทรา 12 กันยายน พ.ศ. 2557 ฉะเชิงเทรา 36,000 ตารางเมตร
ร้อยเอ็ด 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ร้อยเอ็ด 36,500 ตารางเมตร
สมุทรปราการ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2557 สมุทรปราการ 60,000 ตารางเมตร
ปราจีนบุรี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ปราจีนบุรี 35,900 ตารางเมตร
มุกดาหาร 19 ธันวาคม พ.ศ. 2557 มุกดาหาร 37,000 ตารางเมตร
บุรีรัมย์ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 บุรีรัมย์ 35,000 ตารางเมตร
ศรีสมาน 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 นนทบุรี 55,000 ตารางเมตร
แม่สอด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ตาก 33,500 ตารางเมตร
ลพบุรี[f] 16 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ลพบุรี 32,000 ตารางเมตร
เพชรบุรี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 เพชรบุรี 35,000 ตารางเมตร
กำแพงเพชร 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560 กำแพงเพชร 28,000 ตารางเมตร
ชลบุรี-อมตะนคร 29 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ชลบุรี 36,000 ตารางเมตร
ชัยภูมิ ธันวาคม พ.ศ. 2561 ชัยภูมิ 32,000 ตารางเมตร

ท็อปส์ พลาซ่า

ท็อปส์ พลาซ่า (อังกฤษ: Tops Plaza) เป็นศูนย์การค้าในความดูแลของบริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด เน้นทำเลในจังหวัดเล็ก โดยเปิดสาขาแรกที่จังหวัดพิจิตร เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ภายในประกอบด้วยไฮเปอร์มาร์เก็ต "ท็อปส์ ซูเปอร์สโตร์" ร้านค้าในพื้นที่เช่า และอาจมีโรงภาพยนตร์ในบางสาขาด้วย[10]

ศูนย์การค้าอื่นๆ

  • ไชน่าเวิลด์ วังบูรพา
  • แพลตฟอร์ม วงเวียนใหญ่

ห้างสรรพสินค้า

ดูเพิ่มที่ สรรพสินค้าเซ็นทรัล และ ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน

  • ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล (Central)
    • ห้างสรรพสินค้าเซน (ZEN)
    • เซ็นทรัล ฟู๊ดลอฟท์
  • ซี อาร์ ซี สปอร์ต (CRC Sports)
    • ซูเปอร์สปอร์ต (Supersports)
  • ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน (Robinson)
    • ห้างสรรพสินค้าโรบินส์ (Robins)
  • ห้างสรรพสินค้ารินาเชนเต (Rinascente)
  • ห้างสรรพสินค้าอิลลัม (ILLUM)
  • กลุ่มห้างสรรพสินค้าคาเดเว (The KaDeWe Group) (ถือหุ้นสัดส่วน 50.1 ต่อ 49.9 กับกลุ่มซิกน่า)
    • ห้างสรรพสินค้าคาเดเว (KaDeWe)
    • ห้างสรรพสินค้าโอเบอร์โพลลิงเกอร์ (Oberpollinger)
    • ห้างสรรพสินค้าอัลสแตร์เฮาส์ (Alsterhaus)
  • ห้างสรรพสินค้าโกลเดนเนส ควอเทียร์ (Goldenes Quartier)

เชิงอรรถ

  1. ชื่อเดิม "โรบินสัน โอเชี่ยน ภูเก็ต"
  2. ชื่อเดิม "โรบินสัน โอเชี่ยน นครศรีธรรมราช"
  3. สร้างในพื้นที่เดิมของห้างสรรพสินค้าหาดใหญ่ซิตี้
  4. ชื่อเดิม "โรบินสัน เมธาวลัย ราชบุรี"
  5. เป็นสาขาแรกในรูปแบบ "โรบินสัน ไลฟ์สไตล์ เซ็นเตอร์"
  6. เป็นสาขาแรกในรูปแบบ "โรบินสัน ไลฟ์สไตล์"

อ้างอิง

  1. Central Festival Chiang Mai's project components CPN
  2. คาร์บอมบ์เซ็นทรัลสมุย คนไทย-ต่างชาติบาดเจ็บ 10
  3. "CPN (ซื้อ) เปิดโครงการเซ็นทรัลเวสต์เกต". maybank-ke.co.th. บลจ.เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย). สืบค้นเมื่อ 1 September 2015.
  4. http://www.dcs-digital.com/setweb/downloads/2556q3/20131128_cpn.pdf
  5. แจ้งการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน - เซ็นทรัลพัฒนา
  6. ซีพีเอ็น คว้ารางวัลใหญ่ระดับเอเชีย ด้านพัฒนาศูนย์การค้าที่โดดเด่น ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าปลีกของประเทศ
  7. The BCI Asia Top 10 Awards: Top 10 Developers Awards 2017 - Thailand
  8. “โรบินสัน 2020” โตด้วย 3 เสาธุรกิจ : ขยายห้าง-ปั้นศูนย์การค้าไซส์เล็กลงอำเภอ-รุกไพรเวทแบรนด์
  9. เอกสารรายงานประจำปี 2552 ของบริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำกัด (มหาชน) ข้อมูลตั้งแต่สาขาแรก (รัชดาภิเษก) จนถึงสาขาขอนแก่น
  10. ท็อปส์ ปั้นโมเดลศูนย์การค้า “ท็อปส์ พลาซ่า” สาขาแรกพิจิตร เสริมทัพเซ็นทรัลรุกทั่วไทย