ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนวัดนวลนรดิศ"

พิกัด: 13°43′01″N 100°27′59″E / 13.717021°N 100.466279°E / 13.717021; 100.466279
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
== ประวัติโรงเรียน ==
== ประวัติโรงเรียน ==


[[พ.ศ. 2433]]
โรงเรียนวัดนวลนรดิศเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2433]] ตรงกับวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ร.ศ.109 ปีแรกมีนักเรียน 9 คน ใช้ศาลาการเปรียญและกุฏิเป็นที่เรียน มีพระเดชพระคุณพระสาสนานุรักษ์อดีตเจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศ เป็นผู้ทำการสอนและมีครูช่วยอีก 2 คน คือ ครูหวาดและครูแก้ว สาลิคุปต์

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เริ่มเปิดสอน เมื่อวันที่ [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2433]] ปีแรกมีนักเรียน 9 คน ใช้ศาลาการเปรียญและกุฏิเป็นที่เรียน มีพระเดชพระคุณพระสาสนานุรักษ์อดีตเจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศ เป็นผู้ทำสอนและมีครูช่วยสอนอีก 2 คน คือ ครูหวาดและครูแก้ว สาลิคุปต์ ใช้ศาลาการเปรียญและกุฏิวัดนวลนรดิศเป็นที่เรียนมี พระเดชพระคุณพระสาสนานุรักษ์ (ทิม รตนโชโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศเป็นผู้ควบคุม ตั้งแต่ปี 2433-2437

[[พ.ศ. 2437]]

หลวงสรรวิชาเพิ่ม (ผ่อง โกมลวิศ) ขณะดำรงสมณเพศเป็นฐานานุกรมที่พระสมุห์ ทำหน้าที่ครูใหญ่ ตั้งแต่ปี 2437-2454

จากศาลาการเปรียญได้ย้ายมาสอนที่ศาลาคณะล่าง (รื้อถอนแล้วเนื่องจากเสื่อมสภาพ) ซึ่งเป็นที่ดินของวัดนวลนรดิศ มีเนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 67 ตารางวา ทำการสอนตั้งแต่ประโยค 1 ถึงประโยค 2 มีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

[[พ.ศ. 2457]]

[[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2457]] พระสอนถูกระบอบ (เรือง หิญชีระนันท์) มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ จนถึง [[18 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2462]]

เปิดสอน 3 ระดับชั้น คือ ชั้นมูล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา จำนวน 9 ห้องเรียน มีนักเรียน 320 คน ครู 12 คน

[[พ.ศ. 2462]]

[[16 เมษายน]] [[พ.ศ. 2462]] ขุนการุญสิกขพันธุ์ (บุนนาค พฤกษาชีวะ) มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ จนถึง [[30 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2479]]

เปิดชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาถึงชั้นมัธยมศึกษา (ป.1-ม.6) จำนวน 11 ห้องเรียน มีนักเรียน 320 คน ครู 12 คน

[[พ.ศ. 2479]]

ได้ขยายชั้นเรียนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 8 จำนวน 18 ห้องเรียน มีนักเรียน 372 คน ครู 24 คน มี นายเพี้ยน บัวแย้มเจริญ เป็นครูใหญ่

[[พ.ศ. 2482]]

ยุบชั้นเรียนประถมศึกษา และเปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-8 จำนวน 18 ห้องเรียน มีนักเรียน 460 คน ครู 25 คน

[[พ.ศ. 2484]]

[[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2482]] ขุนปราศรัยจรรยา (สอน กัลปพันธุ์) มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-8

[[พ.ศ. 2488]]

[[11 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2488]] ขุนปราศรัยจรรยา (สอน กัลปพันธุ์) สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งครูใหญ่

[[23 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] นายโชค สุคันธวนิช มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่

ลดชั้นเรียนลงคงเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 15 ห้องเรียน มีนักเรียน 611 คน ครู 18 คน

[[พ.ศ. 2490]]

[[15 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2490]] นายสำเนียง ตีระวนิช มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

ขยายชั้นเรียนถึงขั้นเตรียมอุดมศึกษา แผนกวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ จำนวน 16 ห้องเรียน มีนักเรียน 462 คน ครู 24 คน

[[พ.ศ. 2496]]

[[26 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2496]] นายถวิล สุริยนต์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2497]]

นายไพโรจน์ บุญศิริธรรม ได้มอบที่ดินจำนวน 72 ตารางวา มูลค่า 28,800 บาท ให้แก่โรงเรียน เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่นางส้มจีน บุญศิริธรรม ผู้เป็นมารดา ที่ดินของโรงเรียน จึงเพิ่มเป็น 4 ไร่ 2 งาน 39 ตารางวา และได้ขยายชั้นเรียนภาคบ่ายขึ้น จึงมีจำนวนห้องเรียนทั้งหมดเป็น 19 ห้องเรียน มีนักเรียน 750 คน ครู 29 คน โดยมีนายถวิล สุริยนต์ เป็นอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2501]]

ขยายชั้นเรียนภาคบ่ายเพิ่มเติมอีก จึงมีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 39 ห้องเรียน นักเรียน 1,574 คน ครู 50 คน

[[3 มกราคม]] [[พ.ศ. 2501]] นายถวิล สุริยนต์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2502]]

พระราชสังวรวิมล (แช่ม ธัมมานันโท) เจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศในขณะนั้น ได้มอบที่ดินของวัดจำนวน 2 ไร่ 3 งาน เพื่อเป็นที่สร้างโรงเรียน (บริเวณ 2)

[[13 มกราคม]] [[พ.ศ. 2501]] นายเดช เดชกุญชร มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2504]]

ลดชั้นเรียนภาคบ่ายลง แล้วยุบมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 คงเปิดสอนแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.1-3) และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ. 4-5) แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 37 ห้องเรียน นักเรียน 1,307 คน ครู 76 คน

[[พ.ศ. 2505]]

กรมสามัญศึกษาได้ซื้อที่ดินเพิ่มเติมในบริเวณ 2 อีก 2 ไร่ เป็นเงิน 480,000 บาท (สี่แสนแปดหมื่นบาทถ้วน) ที่ดินบริเวณ 2 จึงเพิ่มขึ้นเป็น 4 ไร่ 3 งาน

[[พ.ศ. 2506]]

[[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2506]] นายเดช เดชกุญชร สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2506]] นายทองสุก เกตุโรจน์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2507]]

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 38 ห้องเรียน มีนักเรียน 1,520 คน ครู 67 คน

[[21 มกราคม]] [[พ.ศ. 2507]] นายทองสุก เกตุโรจน์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[21 มกราคม]] [[พ.ศ. 2507]] นายทองหยิบ วิจิตรสุข มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2509]]

สร้างอาคารโรงฝึกงานคอนกรีต 2 ชั้น วงเงิน 300,000 บาท (สามแสนบาทถ้วน) ที่บริเวณ 2 (ปัจจุบันรื้อแล้วจัดสร้างอาคารหอประชุม 100 ปีนวลนรดิศ) เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 38 ห้องเรียน มีนักเรียน 1,307 คน ครู 76 คน

[[พ.ศ. 2515]]

[[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2515]] นายทองหยิบ วิจิตรสุข สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[12 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2515]] นายชาลี ถาวรานุรักษ์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[พ.ศ. 2516]]

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 39 ห้องเรียน มีนักเรียน 1,730 คน ครู 67 คน

[[พ.ศ. 2517]]

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 48 ห้องเรียน มีนักเรียน 2,000 คน ครู 85 คน (ในปีนี้ได้เพิ่มชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รอบบ่าย อีก 8 ห้องเรียน)

[[พ.ศ. 2518]]

[[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2518]] นายชาลี ถาวรานุรักษ์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

[[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2518]] นายธีรพล วงศ์ธัญญากรณ์ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[พ.ศ. 2519]]

ก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ 4 ชั้น (อาคาร 3 ตึกอำนวยการ) ขึ้นในบริเวณ 2 งบประมาณ 3,920,000 บาท (สามล้านเก้าแสนสองหมื่นบาทถ้วน) แล้วเสร็จเมื่อวันที่ [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2520]]

[[พ.ศ. 2521]]

ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น [[พ.ศ. 2521]] อีกจำนวน 10 ห้องเรียน มีนักเรียน 450 คน

[[พ.ศ. 2522]]

นายธีรพล วงศ์ธัญญากรณ์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[29 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2522]] นายเทพ เที่ยงตรง มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

มีการก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ 5 ชั้นในบริเวณ 1 งบประมาณ 4,615,950 บาท (แล้วเสร็จ เมื่อวันที่ [[18 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2524]])

[[พ.ศ. 2524]]

ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย [[พ.ศ. 2524]] เปิดสอนอีกจำนวน 6 ห้องเรียน

[[พ.ศ. 2525]]

[[20 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2525]] นายเทพ เที่ยงตรง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[28 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2525]] นายจรรยา มานิตกุล มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[พ.ศ. 2526]]

นางสาวเลื่อม พึ่งตน ได้มอบที่ดินบริเวณประตูทางเข้าบริเวณ 2 จำนวน 7 ตารางวา มูลค่า 26,250 บาท (สองหมื่นหกพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ที่ดินบริเวณ 2 จึงเพิ่มขึ้นเป็น 4 ไร่ 3 งาน 7 ตารางวา

[[พ.ศ. 2527]]

สมาคมนักเรียนเก่านวลนรดิศ สมาคมผู้ปกครองและครูนวลนรดิศ และมูลนิธินวลนรดิศครบรอบ 80 ปี ได้ร่วมจัดหาเงิน 2,795,219 บาท (สองล้านเจ็ดแสนเก้าหมื่นห้าพันสองร้อยสิบเก้าบาทถ้วน) ร่วมสมทบทุนกับเงินงบประมาณของกรมสามัญศึกษาจำนวน 2,417,781 บาท (สองล้านสี่แสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันเจ็ดร้อยแปดสิบเอ็ดบาทถ้วน) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,213,000 บาท (ห้าล้านสองแสนหนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) ซื้อที่ดินจำนวน 4 ไร่ 4 ตารางวา (ติดกับบริเวณ 2 ปัจจุบันใช้เป็นสนามกีฬาของโรงเรียน) และได้ก่อสร้างต่อเติมอาคาร 5 ชั้น ในบริเวณ 1 เพื่อเป็นอาคารอเนกประสงค์ งบประมาณ 5,700,000 บาท (ห้าล้านเจ็ดแสนบาทถ้วน)

[[พ.ศ. 2528]]

ก่อสร้างอาคารแบบพิเศษ 5 ชั้น ในบริเวณ 2 งบประมาณ 5,700,000 บาท (ห้าล้านเจ็ดแสนบาทถ้วน) มีจำนวนห้องเรียนในอาคาร 28 ห้องเรียน โดยแบ่งสร้าง 16 ห้องเรียน งบประมาณในปี [[พ.ศ. 2528]] และอีก 12 ห้องเรียนงบประมาณในปี [[พ.ศ. 2529]]

[[พ.ศ. 2529]]

[[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2529]] นายจรรยา มานิตกุล สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[25 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2529]] นายไพบูลย์ ฉิ่งทองคำ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[พ.ศ. 2530]]

ก่อสร้างต่อเติมอาคารแบบพิเศษ 5 ชั้น ในบริเวณ 2 อีก 12 ห้องเรียน งบประมาณ 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาทถ้วน)

[[พ.ศ. 2531]]

ได้งบประมาณจำนวน 180,000 บาท (หนึ่งแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) ซื้อที่ดิน ขยายเนื้อที่บริเวณ 1 จึงมีที่ดินเพิ่มอีก 74.40 ตารางวา (3.20 x 93.00 เมตร) รวมเป็น 4 ไร่ 3 งาน 13.40 ตารางวา

[[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2531]] นายไพบูลย์ ฉิ่งทองคำ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2531]] นายสุชาติ ไชยมะโน มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[พ.ศ. 2533]]

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ มีอายุครบ 100 ปี เมื่อวันที่ [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2533]]

ได้งบประมาณจำนวน 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาทถ้วน) กับที่โรงเรียนจัดหาสมทบอีก 500,000 บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) รวมเป็นเงิน 4,500,000 บาท (สี่ล้านห้าแสนบาทถ้วน) สร้างอาคารหอประชุมโรงอาหาร (อาคาร 100 ปีนวลนรดิศ) เมื่อวันที่ [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2533]]

[[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2533]] นายสุชาติ ไชยมะโน สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2533]] นายเจริญ ทั่งทอง มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[พ.ศ. 2534]]

เริ่มใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น [[พ.ศ. 2521]] (ฉบับปรับปรุง [[พ.ศ. 2533]]) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย [[พ.ศ. 2524]] (ฉบับปรับปรุง [[พ.ศ. 2533]]) มีห้องเรียนจำนวน 55 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 2,626 คน ครู-อาจารย์ 150 คน

ได้ปรับปรุงพื้นที่สนามบริเวณ 2 ต่อเติมโรงอาหารใหม่ สร้างห้องอาคารครู ห้องประชาสัมพันธ์ ห้องกิจกรรมสหกรณ์ ป้ายชื่อโรงเรียน เสาธงชาติ สำนักงานบริหารทุกฝ่าย บ้านพักนักการภารโรง อ่างล้างมือ ที่เก็บขยะ เตาเผาขยะ และห้องน้ำห้องส้วมนักเรียน

ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่นประจำปี [[พ.ศ. 2534]] ของกรมสามัญศึกษา

ได้รับรางวัลบรรเลงเพลงไทยชนะเลิศ กับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 5 ในการประกวดวงโยธวาทิตนักเรียนนิสิตนักศึกษาชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย รางวัลถ้วยพระราชทานประจำปี [[พ.ศ. 2535]] ของกระทรวงศึกษาธิการ

[[พ.ศ. 2538]]

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ได้เริ่มเปิดรับนักเรียนเป็นแบบสหศึกษาเป็นปีแรกทั้งระดับ ม.1 และ ม.4

ได้จัดทอดผ้าป่าการศึกษาเพื่อนำเงินมาจัดสร้างหอประดิษฐานพระพุทธรูปประจำโรงเรียนขึ้นที่บริเวณ 2 ซึ่งได้เงินทำบุญในการทอดผ้าป่าครั้งนี้จำนวนกว่า 2 ล้านบาท

[[พ.ศ. 2539]]

โรงเรียนได้ดำเนินการวางศิลาฤกษ์หอประดิษฐานพระพุทธรูป และทำการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ พร้อมทั้งได้รับพระเมตตาจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ประทานพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิ้ว แล้วได้อัญเชิญมาประดิษฐาน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ [[9 มกราคม]] [[พ.ศ. 2540]]

ได้วางศิลาฤกษ์อาคารกาญจนาภิเษกเพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงครองราชสมบัติครบปีที่ 50 และดำเนินการก่อสร้าง แต่ยังไม่แล้วเสร็จเนื่องจากยังขาดเงินอีก พร้อมกันนี้ได้ปรับปรุงหอประชุม 100 ปีนวลนรดิศ เป็นห้องปรับอากาศ จัดสร้างกันสาดด้านหน้าอาคาร 3 และอาคาร 4 จัดสร้างห้องน้ำ ห้องส้วม และปรับปรุงสนามบริเวณ 1

[[พ.ศ. 2540]]

โรงเรียนได้งบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน 6 ชั้น ที่บริเวณ 1 และได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว เพื่อใช้เป็นห้องเรียนอีก 3 ห้อง

ได้ดำเนินการให้ขยายและปรับปรุงห้องสมุดให้เต็มพื้นที่ชั้นล่างอาคาร 4 เพื่อให้บริการนักเรียนและครูอาจารย์ได้อย่างเต็มที่และให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก

ได้ปรับปรุง และติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้ห้องพักครูอาจารย์ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

[[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2540]] นายเจริญ ทั่งทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนเกษียณอายุราชการ

[[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2540]] นายประเสริฐ อหิงสโก มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

[[พ.ศ. 2541]]

อาคารเรียน 6 ชั้น ได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย และจัดแบ่งให้บริเวณ 1 เป็นที่เรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น บริเวณ 2 เป็นที่เรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

ย้ายเสาธงชาติไว้หน้าอาคารหอประชุม 100 ปีนวลนรดิศ เพื่อไม่ให้แสงแดดส่องตานักเรียนขณะทำกิจกรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า

ปรับปรุงสนามบริเวณ 2 ระหว่างอาคาร 3 และอาคาร 4 ให้เป็นสนามคอนกรีตโล่ง

ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษกของโรงเรียนวัดนวลนรดิศได้รับโล่รางวัลชนะเลิศให้เป็นห้องสมุดดีเด่นขนาดใหญ่พิเศษ ของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม "โครงการห้องเรียนสีเขียว" ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตและกรมสามัญศึกษา

ได้รับมอบหมายให้เป็นโรงเรียนประธานสหวิทยาเขต "ปากน้ำ-ภาษีเจริญ"

[[พ.ศ. 2542]]

ปรับปรุงสนามบริเวณ 1 เป็นลานอเนกประสงค์ ด้วยงบประมาณจำนวน 500,000 บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) จัดสร้างห้องคอมพิวเตอร์จำนวน 2 ห้อง สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเรียนที่บริเวณ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน และสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเรียนที่บริเวณ 2 จำนวน 1 ห้อง โดยเสียค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 1,600,000 (หนึ่งล้านหกแสนบาทถ้วน)

อาคารกาญจนาภิเษก ซึ่งดำเนินการก่อสร้างมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2539]] นั้นก็ได้สร้างแล้วเสร็จ

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ได้รับเลือกให้เป็นโรงเรียนประธานกลุ่ม โรงเรียนกรมสามัญศึกษาส่วนกลาง กลุ่มที่ 8 ในปี [[พ.ศ. 2542]] ด้วยเช่นเดียวกัน


== อาคารสถานที่ ==
== อาคารสถานที่ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:30, 17 มิถุนายน 2560

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
Wat Nuannoradit School
137 ซอยเพชรเกษม 19 ถนนเพชรเกษม แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160
ข้อมูล
ชื่ออื่นน.ด. / N.D.
ประเภทรัฐบาล
สถาปนา9 สิงหาคม พ.ศ. 2433 โดย พระสาสนานุรักษ์ (ทิม รตนโชติ) อดีตเจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศวรวิหาร ได้จัดตั้งโรงเรียนวัดนวลนรดิศตามรับสั่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
รหัส00102201
ผู้อำนวยการนายพูลศักดิ์ จิตสว่าง
สีสีม่วง (██), สีตองอ่อน (██)
คำขวัญนวลจะงาม นามจะดี ก็ที่ศิษย์
เพลงมาร์ชนวลนรดิศ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ (Wat Nuannoradit School) อักษรย่อ (น.ด.) เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เดิมเป็นประเภทนักเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 3 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณวัดนวลนรดิศ เลขที่ 137 ซอยเพชรเกษม 19 แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160 มีเนื้อที่ทั้งหมด 13 ไร่ 3 งาน 2 ตารางวา แยกเป็น 2 บริเวณ บริเวณ 1 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัดนวลนรดิศ ริม คลองบางกอกใหญ่ มีเนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 13 ตารางวา เป็นที่เรียนของนักเรียนชั้น ม.1, ม.2 และ ม.3 และบริเวณ 2 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของวัดนวลนรดิศ ใกล้ ถนนเพชรเกษม (อยู่ห่างจากบริเวณ 1 ประมาณ 300 เมตร) มีเนื้อที่ 8 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา เป็นที่เรียนของนักเรียนชั้น ม.4, ม.5 และ ม.6

ประวัติโรงเรียน

พ.ศ. 2433

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เริ่มเปิดสอน เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2433 ปีแรกมีนักเรียน 9 คน ใช้ศาลาการเปรียญและกุฏิเป็นที่เรียน มีพระเดชพระคุณพระสาสนานุรักษ์อดีตเจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศ เป็นผู้ทำสอนและมีครูช่วยสอนอีก 2 คน คือ ครูหวาดและครูแก้ว สาลิคุปต์ ใช้ศาลาการเปรียญและกุฏิวัดนวลนรดิศเป็นที่เรียนมี พระเดชพระคุณพระสาสนานุรักษ์ (ทิม รตนโชโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศเป็นผู้ควบคุม ตั้งแต่ปี 2433-2437

พ.ศ. 2437

หลวงสรรวิชาเพิ่ม (ผ่อง โกมลวิศ) ขณะดำรงสมณเพศเป็นฐานานุกรมที่พระสมุห์ ทำหน้าที่ครูใหญ่ ตั้งแต่ปี 2437-2454

จากศาลาการเปรียญได้ย้ายมาสอนที่ศาลาคณะล่าง (รื้อถอนแล้วเนื่องจากเสื่อมสภาพ) ซึ่งเป็นที่ดินของวัดนวลนรดิศ มีเนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 67 ตารางวา ทำการสอนตั้งแต่ประโยค 1 ถึงประโยค 2 มีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

พ.ศ. 2457

17 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 พระสอนถูกระบอบ (เรือง หิญชีระนันท์) มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ จนถึง 18 ตุลาคม พ.ศ. 2462

เปิดสอน 3 ระดับชั้น คือ ชั้นมูล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา จำนวน 9 ห้องเรียน มีนักเรียน 320 คน ครู 12 คน

พ.ศ. 2462

16 เมษายน พ.ศ. 2462 ขุนการุญสิกขพันธุ์ (บุนนาค พฤกษาชีวะ) มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ จนถึง 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2479

เปิดชั้นเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาถึงชั้นมัธยมศึกษา (ป.1-ม.6) จำนวน 11 ห้องเรียน มีนักเรียน 320 คน ครู 12 คน

พ.ศ. 2479

ได้ขยายชั้นเรียนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 8 จำนวน 18 ห้องเรียน มีนักเรียน 372 คน ครู 24 คน มี นายเพี้ยน บัวแย้มเจริญ เป็นครูใหญ่

พ.ศ. 2482

ยุบชั้นเรียนประถมศึกษา และเปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-8 จำนวน 18 ห้องเรียน มีนักเรียน 460 คน ครู 25 คน

พ.ศ. 2484

18 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 ขุนปราศรัยจรรยา (สอน กัลปพันธุ์) มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-8

พ.ศ. 2488

11 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 ขุนปราศรัยจรรยา (สอน กัลปพันธุ์) สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งครูใหญ่

23 สิงหาคม พ.ศ. 2488 นายโชค สุคันธวนิช มาดำรงตำแหน่งครูใหญ่

ลดชั้นเรียนลงคงเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 15 ห้องเรียน มีนักเรียน 611 คน ครู 18 คน

พ.ศ. 2490

15 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 นายสำเนียง ตีระวนิช มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

ขยายชั้นเรียนถึงขั้นเตรียมอุดมศึกษา แผนกวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ จำนวน 16 ห้องเรียน มีนักเรียน 462 คน ครู 24 คน

พ.ศ. 2496

26 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 นายถวิล สุริยนต์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2497

นายไพโรจน์ บุญศิริธรรม ได้มอบที่ดินจำนวน 72 ตารางวา มูลค่า 28,800 บาท ให้แก่โรงเรียน เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่นางส้มจีน บุญศิริธรรม ผู้เป็นมารดา ที่ดินของโรงเรียน จึงเพิ่มเป็น 4 ไร่ 2 งาน 39 ตารางวา และได้ขยายชั้นเรียนภาคบ่ายขึ้น จึงมีจำนวนห้องเรียนทั้งหมดเป็น 19 ห้องเรียน มีนักเรียน 750 คน ครู 29 คน โดยมีนายถวิล สุริยนต์ เป็นอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2501

ขยายชั้นเรียนภาคบ่ายเพิ่มเติมอีก จึงมีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 39 ห้องเรียน นักเรียน 1,574 คน ครู 50 คน

3 มกราคม พ.ศ. 2501 นายถวิล สุริยนต์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2502

พระราชสังวรวิมล (แช่ม ธัมมานันโท) เจ้าอาวาสวัดนวลนรดิศในขณะนั้น ได้มอบที่ดินของวัดจำนวน 2 ไร่ 3 งาน เพื่อเป็นที่สร้างโรงเรียน (บริเวณ 2)

13 มกราคม พ.ศ. 2501 นายเดช เดชกุญชร มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2504

ลดชั้นเรียนภาคบ่ายลง แล้วยุบมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 คงเปิดสอนแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.1-3) และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ. 4-5) แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 37 ห้องเรียน นักเรียน 1,307 คน ครู 76 คน

พ.ศ. 2505

กรมสามัญศึกษาได้ซื้อที่ดินเพิ่มเติมในบริเวณ 2 อีก 2 ไร่ เป็นเงิน 480,000 บาท (สี่แสนแปดหมื่นบาทถ้วน) ที่ดินบริเวณ 2 จึงเพิ่มขึ้นเป็น 4 ไร่ 3 งาน

พ.ศ. 2506

1 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 นายเดช เดชกุญชร สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

1 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 นายทองสุก เกตุโรจน์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2507

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และมัธยมศึกษาปีที่ 4-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 38 ห้องเรียน มีนักเรียน 1,520 คน ครู 67 คน

21 มกราคม พ.ศ. 2507 นายทองสุก เกตุโรจน์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

21 มกราคม พ.ศ. 2507 นายทองหยิบ วิจิตรสุข มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2509

สร้างอาคารโรงฝึกงานคอนกรีต 2 ชั้น วงเงิน 300,000 บาท (สามแสนบาทถ้วน) ที่บริเวณ 2 (ปัจจุบันรื้อแล้วจัดสร้างอาคารหอประชุม 100 ปีนวลนรดิศ) เปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 38 ห้องเรียน มีนักเรียน 1,307 คน ครู 76 คน

พ.ศ. 2515

1 ตุลาคม พ.ศ. 2515 นายทองหยิบ วิจิตรสุข สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

12 ธันวาคม พ.ศ. 2515 นายชาลี ถาวรานุรักษ์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

พ.ศ. 2516

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 39 ห้องเรียน มีนักเรียน 1,730 คน ครู 67 คน

พ.ศ. 2517

เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 แผนกวิทยาศาสตร์และแผนกศิลปะ จำนวน 48 ห้องเรียน มีนักเรียน 2,000 คน ครู 85 คน (ในปีนี้ได้เพิ่มชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รอบบ่าย อีก 8 ห้องเรียน)

พ.ศ. 2518

1 ธันวาคม พ.ศ. 2518 นายชาลี ถาวรานุรักษ์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่

1 ธันวาคม พ.ศ. 2518 นายธีรพล วงศ์ธัญญากรณ์ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. 2519

ก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ 4 ชั้น (อาคาร 3 ตึกอำนวยการ) ขึ้นในบริเวณ 2 งบประมาณ 3,920,000 บาท (สามล้านเก้าแสนสองหมื่นบาทถ้วน) แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2520

พ.ศ. 2521

ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ. 2521 อีกจำนวน 10 ห้องเรียน มีนักเรียน 450 คน

พ.ศ. 2522

นายธีรพล วงศ์ธัญญากรณ์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

29 มีนาคม พ.ศ. 2522 นายเทพ เที่ยงตรง มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

มีการก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ 5 ชั้นในบริเวณ 1 งบประมาณ 4,615,950 บาท (แล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524)

พ.ศ. 2524

ได้ใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 เปิดสอนอีกจำนวน 6 ห้องเรียน

พ.ศ. 2525

20 ตุลาคม พ.ศ. 2525 นายเทพ เที่ยงตรง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

28 ตุลาคม พ.ศ. 2525 นายจรรยา มานิตกุล มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. 2526

นางสาวเลื่อม พึ่งตน ได้มอบที่ดินบริเวณประตูทางเข้าบริเวณ 2 จำนวน 7 ตารางวา มูลค่า 26,250 บาท (สองหมื่นหกพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน) ที่ดินบริเวณ 2 จึงเพิ่มขึ้นเป็น 4 ไร่ 3 งาน 7 ตารางวา

พ.ศ. 2527

สมาคมนักเรียนเก่านวลนรดิศ สมาคมผู้ปกครองและครูนวลนรดิศ และมูลนิธินวลนรดิศครบรอบ 80 ปี ได้ร่วมจัดหาเงิน 2,795,219 บาท (สองล้านเจ็ดแสนเก้าหมื่นห้าพันสองร้อยสิบเก้าบาทถ้วน) ร่วมสมทบทุนกับเงินงบประมาณของกรมสามัญศึกษาจำนวน 2,417,781 บาท (สองล้านสี่แสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันเจ็ดร้อยแปดสิบเอ็ดบาทถ้วน) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,213,000 บาท (ห้าล้านสองแสนหนึ่งหมื่นสามพันบาทถ้วน) ซื้อที่ดินจำนวน 4 ไร่ 4 ตารางวา (ติดกับบริเวณ 2 ปัจจุบันใช้เป็นสนามกีฬาของโรงเรียน) และได้ก่อสร้างต่อเติมอาคาร 5 ชั้น ในบริเวณ 1 เพื่อเป็นอาคารอเนกประสงค์ งบประมาณ 5,700,000 บาท (ห้าล้านเจ็ดแสนบาทถ้วน)

พ.ศ. 2528

ก่อสร้างอาคารแบบพิเศษ 5 ชั้น ในบริเวณ 2 งบประมาณ 5,700,000 บาท (ห้าล้านเจ็ดแสนบาทถ้วน) มีจำนวนห้องเรียนในอาคาร 28 ห้องเรียน โดยแบ่งสร้าง 16 ห้องเรียน งบประมาณในปี พ.ศ. 2528 และอีก 12 ห้องเรียนงบประมาณในปี พ.ศ. 2529

พ.ศ. 2529

18 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 นายจรรยา มานิตกุล สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 นายไพบูลย์ ฉิ่งทองคำ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. 2530

ก่อสร้างต่อเติมอาคารแบบพิเศษ 5 ชั้น ในบริเวณ 2 อีก 12 ห้องเรียน งบประมาณ 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาทถ้วน)

พ.ศ. 2531

ได้งบประมาณจำนวน 180,000 บาท (หนึ่งแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) ซื้อที่ดิน ขยายเนื้อที่บริเวณ 1 จึงมีที่ดินเพิ่มอีก 74.40 ตารางวา (3.20 x 93.00 เมตร) รวมเป็น 4 ไร่ 3 งาน 13.40 ตารางวา

29 มิถุนายน พ.ศ. 2531 นายไพบูลย์ ฉิ่งทองคำ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

29 มิถุนายน พ.ศ. 2531 นายสุชาติ ไชยมะโน มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. 2533

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ มีอายุครบ 100 ปี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2533

ได้งบประมาณจำนวน 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาทถ้วน) กับที่โรงเรียนจัดหาสมทบอีก 500,000 บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) รวมเป็นเงิน 4,500,000 บาท (สี่ล้านห้าแสนบาทถ้วน) สร้างอาคารหอประชุมโรงอาหาร (อาคาร 100 ปีนวลนรดิศ) เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2533

5 ตุลาคม พ.ศ. 2533 นายสุชาติ ไชยมะโน สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

1 ตุลาคม พ.ศ. 2533 นายเจริญ ทั่งทอง มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. 2534

เริ่มใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) มีห้องเรียนจำนวน 55 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 2,626 คน ครู-อาจารย์ 150 คน

ได้ปรับปรุงพื้นที่สนามบริเวณ 2 ต่อเติมโรงอาหารใหม่ สร้างห้องอาคารครู ห้องประชาสัมพันธ์ ห้องกิจกรรมสหกรณ์ ป้ายชื่อโรงเรียน เสาธงชาติ สำนักงานบริหารทุกฝ่าย บ้านพักนักการภารโรง อ่างล้างมือ ที่เก็บขยะ เตาเผาขยะ และห้องน้ำห้องส้วมนักเรียน

ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2534 ของกรมสามัญศึกษา

ได้รับรางวัลบรรเลงเพลงไทยชนะเลิศ กับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 5 ในการประกวดวงโยธวาทิตนักเรียนนิสิตนักศึกษาชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย รางวัลถ้วยพระราชทานประจำปี พ.ศ. 2535 ของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2538

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ได้เริ่มเปิดรับนักเรียนเป็นแบบสหศึกษาเป็นปีแรกทั้งระดับ ม.1 และ ม.4

ได้จัดทอดผ้าป่าการศึกษาเพื่อนำเงินมาจัดสร้างหอประดิษฐานพระพุทธรูปประจำโรงเรียนขึ้นที่บริเวณ 2 ซึ่งได้เงินทำบุญในการทอดผ้าป่าครั้งนี้จำนวนกว่า 2 ล้านบาท

พ.ศ. 2539

โรงเรียนได้ดำเนินการวางศิลาฤกษ์หอประดิษฐานพระพุทธรูป และทำการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ พร้อมทั้งได้รับพระเมตตาจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ประทานพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย ขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิ้ว แล้วได้อัญเชิญมาประดิษฐาน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2540

ได้วางศิลาฤกษ์อาคารกาญจนาภิเษกเพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงครองราชสมบัติครบปีที่ 50 และดำเนินการก่อสร้าง แต่ยังไม่แล้วเสร็จเนื่องจากยังขาดเงินอีก พร้อมกันนี้ได้ปรับปรุงหอประชุม 100 ปีนวลนรดิศ เป็นห้องปรับอากาศ จัดสร้างกันสาดด้านหน้าอาคาร 3 และอาคาร 4 จัดสร้างห้องน้ำ ห้องส้วม และปรับปรุงสนามบริเวณ 1

พ.ศ. 2540

โรงเรียนได้งบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน 6 ชั้น ที่บริเวณ 1 และได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว เพื่อใช้เป็นห้องเรียนอีก 3 ห้อง

ได้ดำเนินการให้ขยายและปรับปรุงห้องสมุดให้เต็มพื้นที่ชั้นล่างอาคาร 4 เพื่อให้บริการนักเรียนและครูอาจารย์ได้อย่างเต็มที่และให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก

ได้ปรับปรุง และติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้ห้องพักครูอาจารย์ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

30 กันยายน พ.ศ. 2540 นายเจริญ ทั่งทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนเกษียณอายุราชการ

17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 นายประเสริฐ อหิงสโก มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. 2541

อาคารเรียน 6 ชั้น ได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย และจัดแบ่งให้บริเวณ 1 เป็นที่เรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น บริเวณ 2 เป็นที่เรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

ย้ายเสาธงชาติไว้หน้าอาคารหอประชุม 100 ปีนวลนรดิศ เพื่อไม่ให้แสงแดดส่องตานักเรียนขณะทำกิจกรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า

ปรับปรุงสนามบริเวณ 2 ระหว่างอาคาร 3 และอาคาร 4 ให้เป็นสนามคอนกรีตโล่ง

ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษกของโรงเรียนวัดนวลนรดิศได้รับโล่รางวัลชนะเลิศให้เป็นห้องสมุดดีเด่นขนาดใหญ่พิเศษ ของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วม "โครงการห้องเรียนสีเขียว" ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตและกรมสามัญศึกษา

ได้รับมอบหมายให้เป็นโรงเรียนประธานสหวิทยาเขต "ปากน้ำ-ภาษีเจริญ"

พ.ศ. 2542

ปรับปรุงสนามบริเวณ 1 เป็นลานอเนกประสงค์ ด้วยงบประมาณจำนวน 500,000 บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) จัดสร้างห้องคอมพิวเตอร์จำนวน 2 ห้อง สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเรียนที่บริเวณ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน และสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเรียนที่บริเวณ 2 จำนวน 1 ห้อง โดยเสียค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 1,600,000 (หนึ่งล้านหกแสนบาทถ้วน)

อาคารกาญจนาภิเษก ซึ่งดำเนินการก่อสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 นั้นก็ได้สร้างแล้วเสร็จ

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ได้รับเลือกให้เป็นโรงเรียนประธานกลุ่ม โรงเรียนกรมสามัญศึกษาส่วนกลาง กลุ่มที่ 8 ในปี พ.ศ. 2542 ด้วยเช่นเดียวกัน

อาคารสถานที่

อาคารสถานที่ บริเวณ 1

พื้นที่ 4 ไร่ 3 งาน 13 ตารางวา เป็นที่เรียนประจำของนักเรียนชั้น ม.1, ม.2 และ ม.3 มีอาคารเรียน 3 หลัง บ้านพักลูกจ้างประจำ 1 หลัง และห้องน้ำนอกอาคารเรียน 2 หลัง

อาคาร 1 (อาคารรัตนโชติ) อาคาร 5 ชั้น ประกอบด้วย ห้องเรียน, ธนาคารโรงเรียน, ห้องสมุด, ห้องออกกำลังกาย, ห้องฝึกงาน, ห้องพักครู

อาคาร 2 (อาคารบุนนาค) อาคาร 3 ชั้น ประกอบด้วย ห้องเรียน, ห้องฝึกงาน, โรงยิมเนเซี่ยม, ห้องพักครู และสำนักงานกลุ่มบริหารงานบุคคล (บริเวณ 1)

อาคาร 6 (อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา)

อาคาร 6 ชั้น ประกอบด้วย ห้องเรียน, ห้องโสตทัศนศึกษา, ห้องพยาบาล, ห้องคอมพิวเตอร์, ห้องเรียนสีเขียว, ที่ทำการโครงการอาหารกลางวัน, ห้องพักครู และสำนักงานรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป


อาคารสถานที่ บริเวณ 2

พื้นที่ 8 ไร่ 3 งาน 89 ตารางวา เป็นที่เรียนประจำของนักเรียนชั้น ม.4, ม.5 และ ม.6 ประกอบด้วยหอพระ 1 หลัง อาคารเรียน 2 หลัง ดังนี้ อาคารประกอบ 2 หลัง

อาคาร 3 (อาคารเจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล)

อาคาร 4 ชั้น ประกอบด้วยห้องเรียน, สำนักงานผู้อำนวยการโรงเรียน, สำนักงานรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ, สำนักงานรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ, ห้องคอมพิวเตอร์, ห้องเรียน, ห้องพยาบาล, ห้องพัสดุ และห้องพักครู

อาคาร 4 (อาคารธัมมานันโท)

อาคาร 5 ชั้น ประกอบด้วยห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ กาญจนาภิเษก, ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน วิชาภาษาไทย, กลุ่มโรงเรียนกลุ่มสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร กลุ่มที่ 8, ห้องเรียน, ห้องปฏิบัติการคหกรรม, ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์, ห้องปฏิบัติการจริยธรรม และห้องพักครู

อาคาร 5 (อาคาร 100 ปีนวลนรดิศ)

ชั้นล่าง สำนักงานรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล (บริเวณ 2), โรงอาหาร, สโมสรครู และศูนย์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ชั้นบนเป็นหอประชุม

ผู้บริหารโรงเรียน

ลำดับ รายนาม ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
1 พระสาสนานุรักษ์ (ทิม รตนโชต) 2433-2437
2 หลวงสรรวิชาเพิ่ม (ผ่อง โกมลวิศ) 2437-2454
3 พระสอนถูกระบอบ (เรือง หิญชีระนันท์) 2454-2462
4 ขุนการุญสิกขพันธ์ (บุญนาค พฤกษาชีวะ) 2462-2479
5 นายเพี้ยน บัวแย้มเจริญ 2479-2484
6 ขุนปราศรัยจรรยา (สอน กัลปพันธุ์) 2484-2488
7 นายโชค สุคันธวนิช 2488-2490
8 นายสำเนียง ตีระวนิช 2490-2496
9 นายถวิล สุริยนต์ 2496-2501
10 นายเดช เดชกุญชร 2501-2506
11 นายทองสุก เกตุโรจน์ 2506-2507
12 นายทองหยิบ วิจิตรสุข 2507-2515
13 นายชาลี ถาวรานุรักษ์ 2515-2518
14 นายธีรพล วงศ์ธัญญากรณ์ 2518-2522
15 นายเทพ เที่ยงตรง 2522-2525
16 นายจรรยา มานิตกุล 2525-2529
17 นายไพบูลย์ ฉิ่งทองคำ 2529-2531
18 นายสุชาติ ไชยมะโน 2531-2533
19 นายเจริญ ทั่งทอง 2533-2540
20 นายประเสริฐ อหิงสโก 2540-2544
21 นายสายัณห์ รุ่งป่าสัก 2544-2545
22 นายพนัส พัฒนรัฐ 2545-2548
23 นายประเสริฐ ถาวรชัยสิทธิ์ 2548-2550
24 นายแสงทอง ธัญญโกเศศสุข 2550-2552
25 นายอำนวย พลชัย 2552-2555
26 นายประเสริฐ ผุดผ่อง 2555-2557
27 นายขจิตพันธ์ สุวรรณสิริภักดิ์ 2557-2559
28 นายพูลศักดิ์ จิตสว่าง 2560 - ปัจจุบัน

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

วัดปากน้ำภาษีเจริญ

โรงพยาบาลบางไผ่

โรงพยาบาลพญาไท 3

โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์

แหล่งข้อมูลอื่น

13°43′01″N 100°27′59″E / 13.717021°N 100.466279°E / 13.717021; 100.466279