ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิตามินซี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 242: บรรทัด 242:
งานทบทวนปี 2010 ไม่พบประโยชน์ของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมเพื่อรักษาโรค[[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]]<ref>{{cite journal | authors = Rosenbaum, CC; O'Mathúna, DP; Chavez, M; Shields, K | title = Antioxidants and antiinflammatory dietary supplements for osteoarthritis and rheumatoid arthritis | journal = Alternative Therapies in Health and Medicine | volume = 16 | issue = 2 | pages = 32-40 | year = 2010 | pmid = 20232616 }}</ref>
งานทบทวนปี 2010 ไม่พบประโยชน์ของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมเพื่อรักษาโรค[[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]]<ref>{{cite journal | authors = Rosenbaum, CC; O'Mathúna, DP; Chavez, M; Shields, K | title = Antioxidants and antiinflammatory dietary supplements for osteoarthritis and rheumatoid arthritis | journal = Alternative Therapies in Health and Medicine | volume = 16 | issue = 2 | pages = 32-40 | year = 2010 | pmid = 20232616 }}</ref>
งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 พบว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมไม่ช่วยป้องกันหรือชะลอ[[ต้อกระจก]]ที่เป็นไปตามวัย<ref>{{cite journal | authors = Mathew, MC; Ervin, AM; Tao, J; Davis, RM | title = Antioxidant vitamin supplementation for preventing and slowing the progression of age-related cataract | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 6 | issue = 6 | pages = CD004567 | date = June 2012 | pmid = 22696344 | pmc = 4410744 | doi = 10.1002/14651858.CD004567.pub2 }}</ref>
งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 พบว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมไม่ช่วยป้องกันหรือชะลอ[[ต้อกระจก]]ที่เป็นไปตามวัย<ref>{{cite journal | authors = Mathew, MC; Ervin, AM; Tao, J; Davis, RM | title = Antioxidant vitamin supplementation for preventing and slowing the progression of age-related cataract | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 6 | issue = 6 | pages = CD004567 | date = June 2012 | pmid = 22696344 | pmc = 4410744 | doi = 10.1002/14651858.CD004567.pub2 }}</ref>

== การใช้ ==
[[ไฟล์:VitaminSupplementPills2.jpg |thumb | alt = Rows and rows of pill bottles on shelves |
อาหารเสริมวิตามินซีที่ขายในร้านขายยา
]]
วิตามินซีมีบทบาทที่ชัดเจนในการรักษาโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเกิดเพราะขาดวิตามินซี
นอกเหนือจากนั้น บทบาทของมันในการป้องกันหรือรักษาโรคต่าง ๆ เป็นเรื่องโต้แย้งไม่มีที่สิ้นสุด โดยงานทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ ก็รายงานผลที่ขัดแยังกัน
งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 รายงานว่า การเสริมอาหารด้วยวิตามินซีไม่มีผลต่ออัตราตายโดยทั้งหมด (overall mortality)<ref>{{cite journal | authors = Bjelakovic, G; Nikolova, D; Gluud, LL; Simonetti, RG; Gluud, C | title = Antioxidant supplements for prevention of mortality in healthy participants and patients with various diseases | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 3 | issue = 3 | pages = CD007176 | date = March 2012 | pmid = 22419320 | doi = 10.1002/14651858.CD007176.pub2 }}</ref>
วิตามินอยู่ในรายกายยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยาที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยที่สุดอันจำเป็นในระบบสาธารณสุข<ref name=WHO19th/>

=== โรคลักปิดลักเปิด ===
โรคลักปิดลักเปิดเกิดจากการขาดวิตามินซี สามารถป้องกันและรักษาได้ด้วยอาหารที่มีวิตามินซีหรือด้วยอาหารเสริม<ref name=AHFS2016 /></ref><ref name=DRItext2000 />
โรคใช้เวลาอย่างน้อย 1 เดือนก่อนจะเกิดอาการเมื่อทานอาหารที่ไม่มีหรือมีวิตามินซีน้อย<ref name="pmid4977512" />
อาการเบื้องต้นรวมทั้งความละเหี่ยไม่สบายและภาวะง่วงงุน โดยแย่ลงเป็นหายใจไม่เต็มปอด ปวดกระดูก เหงือกเลือดออก ฟกช้ำง่าย แผลหายยาก และในที่สุดเป็นไข้ ชัก และสุดท้าย เสียชีวิต<ref name=AHFS2016 />
โรคกลับคืนดีได้จนถึงระยะสุดท้าย ๆ เพราะร่างกายจะผลิตคอลลาเจนแทนที่ที่ไม่ดีเพราะขาดวิตามิน
ยาสามารถใช้กิน ฉีดในกล้ามเนื้อ หรือให้ทางเส้นเลือด<ref name=AHFS2016 />

โรคนี้รู้จักกันตั้งแต่สมัย[[ฮิปพอคราทีส]]ช่วง[[กรีกโบราณ]]แล้ว
ในปี 1747 ศัลยแพทย์ของ[[ราชนาวี]]อังกฤษ คือ เจมส์ ลินด์ ได้ทำงานทดลองมี[[กลุ่มควบคุม]]งานต้น ๆ ที่แสดงว่า ผลไม้[[สกุลส้ม]]ป้องกันโรคนี้ได้ และเริ่มจากปี 1796 ราชนาวีอังกฤษก็แจกน้ำ[[เลมอน]]แก่[[กะลาสี]]ทุกคน<ref name="lind_james">
{{cite book | authors = Lind, J | title = A Treatise of the Scurvy | publisher = A. Millar | location = London | year = 1753 }} In the 1757 edition of his work, Lind discusses his experiment starting on [https://archive.org/stream/treatiseonscurvy00lind#page/149/mode/1up page 149.] {{webarchive | url = https://web.archive.org/web/20160320155753/https://archive.org/stream/treatiseonscurvy00lind | date = 2016-03-20 }}</ref>ref name="Baron2009">
{{cite journal | authors = Baron, JH | title = Sailors' scurvy before and after James Lind--a reassessment | journal = Nutrition Reviews | volume = 67 | issue = 6 | pages = 315-32 | date = June 2009 | pmid = 19519673 | doi = 10.1111/j.1753-4887.2009.00205.x | url = https://pdfs.semanticscholar.org/123e/bc0bd57683f8d8cfa0bee98a016fc5f2f37b.pdf }}</ref>

=== การติดเชื้อ ===
<!-- {{ข้อมูลเพิ่มเติม |Vitamin C and the common cold}} -->
[[ไฟล์:L Pauling.jpg|thumb|upright|left|
ผู้รับรางวัลโนเบลชาวอเมริกัน[[ไลนัส พอลิง]] สนับสนุนให้กินวิตามินซีเพื่อโรคหวัดธรรมดาในหนังสือปี 1970
]]
ผลของวิตามินซีต่อ[[โรคหวัด]]ธรรมดาได้ทำ[[การวิจัย]]อย่างกว้างขวาง
งานทดลองทางคลินิกมีกลุ่มควบคุมงานแรกสุดดูเหมือนจะทำในปี 1945<ref>{{cite journal | authors = Manwaring, WH | title = Ascorbic Acid vs. the Common Cold | journal = California and Western Medicine | volume = 62 | issue = 6 | pages = 309-10 | date = June 1945 | pmid = 18747053 | pmc = 1781017 }}</ref>
ต่อจากนั้น ก็มีงานวิจัยต่อ ๆ มา แต่ความสนใจทั้งทางวิชาการและจากสาธารณชนได้เพิ่มขึ้นเมื่อ[[ไลนัส พอลิง]] ผู้ได้รับทั้ง[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]] (1954) และรางวัลโนเบลสันติภาพ (1962) ได้เริ่มตีพิมพ์ผลงานวิจัยในเรื่องนี้ และเขียนหนังสือ "Vitamin C and the Common Cold" (วิตามินซีกับโรคหวัดธรรมดา) ในปี 1970<ref name=Pauling1970>{{cite book | last = Pauling | first = Linus | year = 1970 | title = Vitamin C and the Common Cold | edition = 1 | publisher = W. H. Freeman | location = San Francisco | isbn = 9780716701590 | ol = 4914696M | url = https://archive.org/details/vitaminccommonco00paul }}</ref>
ต่อมาจึงเขียนหนังสือที่อัปเดตและขยายความอีกเล่มคือ "Vitamin C, the Common Cold and the Flu" (วิตามินซี โรคหวัดธรรมดา และไข้หวัดใหญ่) ในปี 1976<ref name=Pauling1976>{{cite book | last = Pauling | first = Linus | year = 1976 | title = Vitamin C, the Common Cold, and the Flu | publisher = W.H. Freeman and Company}}</ref>

งานวิจัยเรื่องวิตามินซีกับไข้หวัดธรรมดาแบ่งออกเป็นผลในการป้องกัน ผลต่อระยะเวลาที่เป็น และผลต่อความรุนแรงของโรค
งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2013 ซึ่งตรวจดูงานวิจัยต่าง ๆ ที่ทดลองใช้วิตามินอย่างน้อย {{nowrap |200 มก./วัน}} สรุปว่า วิตามินซีที่กินเป็นประจำไม่มีประสิทธิภาพป้องกันไข้หวัดธรรมดา
แม้กิน {{nowrap |1,000 มก./วัน}} ก็ไม่ได้ผล
แต่การกินวิตามินซีเป็นประจำลดระยะการเป็นหวัด 8% ในผู้ใหญ่ และ 14% ในเด็ก โดยลดความรุนแรงของไข้ด้วย<ref name=Hem2013 />
ข้อมูลงานทดลองเซ็ตย่อยระบุว่า ช่วยลด[[อุบัติการณ์ (วิทยาการระบาด)|อุบัติการณ์]]ของไข้หวัดธรรมดาครึ่งหนึ่งในนักวิ่ง[[มาราธอน]] ในผู้เล่นสกี และใน[[ทหาร]]ที่ทำการในที่หนาวมาก (subarctic)<ref name=Hem2013 />
ข้อมูลงานทดลองเซ็ตย่อยอีกเซ็นหนึ่งตรวจดูการใช้รักษา คือจะไม่เริ่มกินวิตามินซีจนกระทั่งรู้สึกเป็นไข้
วิตามินซีไม่มีผลต่อระยะเวลาหรือความรุนแรงของโรค<ref name="Hem2013" />
เทียบกับงานทบทวนปี 2009 ที่สรุปว่า วิตามินซีไม่ป้องกันโรคหวัด ลดระยะเวลาที่เป็น แต่ไม่ลดความรุนแรง<ref name="Heimer_2009">{{cite journal | authors = Heimer, KA; Hart, AM; Martin, LG; Rubio-Wallace, S | title = Examining the evidence for the use of vitamin C in the prophylaxis and treatment of the common cold | journal = Journal of the American Academy of Nurse Practitioners | volume = 21 | issue = 5 | pages = 295-300 | date = May 2009 | pmid = 19432914 | doi = 10.1111/j.1745-7599.2009.00409.x }}</ref>
นักวิจัยของงานปี 2013 สรุปว่า "...เพราะวิตามินซีมีผลที่สม่ำเสมอต่อระยะเวลาและความรุนแรงของไข้หวัดในงานศึกษาที่ให้กินเป็นอาหารเสริมเป็นประจำ เพราะราคาถูกและปลอดภัย มันอาจคุ้มค่าสำหรับคนไข้โรคหวัดธรรมดาเพื่อทดลองเป็นส่วนบุคคลว่า การใช้วิตามินซีรักษามีประโยชน์กับตนหรือไม่"<ref name=Hem2013 />

วิตามินซีกระจายเข้าไปในเซลล์ภูมิคุ้มกันในระดับความเข้มข้นสูงอย่างง่าย ๆ มีฤทธิ์ต้าน[[จุลชีพ]] ช่วยงานเซลล์ภูมิคุ้มกัน (คือ natural killer cell หรือ NK cell ซึ่งเป็น[[ลิมโฟไซต์]]ชนิดหนึ่ง) ช่วยเพิ่มจำนวนลิมโฟไซต์ และใช้หมดเร็วมากเมื่อ[[ติดเชื้อ]] ซึ่งแสดงว่ามีบทบาทสำคัญในการควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน<ref>{{cite journal | authors = Wintergerst, ES; Maggini, S; Hornig, DH | title = Immune-enhancing role of vitamin C and zinc and effect on clinical conditions | journal = Annals of Nutrition & Metabolism | volume = 50 | issue = 2 | pages = 85-94 | year = 2006 | pmid = 16373990 | doi = 10.1159/000090495 | url = http://doc.rero.ch/record/303675/files/S0029665108006927.pdf }}</ref>
สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป ({{abbr |EFSA| European Food Safety Authority }}) พบว่า มีความสัมพันธ์โดยเป็นเหตุผลระหว่างการกินวิตามินซีในอาหาร กับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันที่ปกติในผู้ใหญ่และเด็กอายุน้อยกว่า {{nowrap |3 ขวบ}}<ref name="efsa09">
{{cite journal | author = EFSA Panel on Dietetic Products, Nutrition and Allergies | title = Scientific Opinion on the substantiation of health claims related to vitamin C and protection of DNA, proteins and lipids from oxidative damage (ID 129, 138, 143, 148), antioxidant function of lutein (ID 146), maintenance of vision (ID 141, 142), collagen formation (ID 130, 131, 136, 137, 149), function of the nervous system (ID 133), function of the immune system (ID 134), function of the immune system during and after extreme physical exercise (ID 144), non-haem iron absorption (ID 132, 147), energy-yielding metabolism (ID 135), and relief in case of irritation in the upper respiratory tract (ID 1714, 1715) pursuant to Article 13(1) of Regulation (EC) No 1924/2006 | journal = EFSA Journal | volume = 7 | issue = 9 | year = 2009 | page = 1226 | doi = 10.2903/j.efsa.2009.1226}}</ref><ref name="efsa15">
{{cite journal | author = EFSA Panel on Dietetic Products, Nutrition and Allergies | title = Vitamin C and contribution to the normal function of the immune system: evaluation of a health claim pursuant to Article 14 of Regulation (EC) No 1924/2006 | journal = EFSA Journal | year = 2015 | volume = 13 | issue = 11 | page = 4298 | doi = 10.2903/j.efsa.2015.4298}}</ref>

=== มะเร็ง ===
มีแนวทางการศึกษาสองอย่างว่า วิตามินซีมีผลต่อ[[มะเร็ง]]หรือไม่
อย่างแรกคือ ถ้าได้จากอาหารในพิสัยปกติโดยไม่ทานอาหารเสริมเพิ่ม ผู้ที่กินวิตามินซีมากกว่าเสี่ยงเกิดมะเร็งน้อยกว่าหรือไม่ ถ้ามีน้อยกว่า การกินเป็นอาหารเสริมมีประโยชน์เหมือนกันหรือไม่
อย่างที่สองคือ สำหรับคนไข้ที่ได้[[การวินิจฉัยทางการแพทย์|วินิจฉัย]]ว่าเป็นมะเร็ง การให้กรดแอสคอร์บิกปริมาณมากทางเส้นเลือดเพื่อรักษามะเร็งช่วยลดผลไม่พึงประสงค์ของการรักษาวิธีอื่น ๆ และดังนั้น จึงช่วยให้รอดชีวิตได้นานขึ้นหรือเพิ่มคุณภาพชีวิตหรือไม่
งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2013 ไม่พบหลักฐานว่าการกินเป็นอาหารเสริมลดความเสี่ยง[[มะเร็งปอด]]สำหรับคนสุขภาพดีหรือคนเสี่ยงสูงเพราะสูบยา (มีบุหรี่เป็นต้น) หรือเพราะได้รับ[[แร่ใยหิน]]<ref name=Cor2012>{{cite journal | authors = Cortés-Jofré, M; Rueda, JR; Corsini-Muñoz, G; Fonseca-Cortés, C; Caraballoso, M; X, Bonfill Cosp | title = Drugs for preventing lung cancer in healthy people | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 10 | pages = CD002141 | date = October 2012 | pmid = 23076895 | doi = 10.1002/14651858.CD002141.pub2 }}</ref>

[[งานวิเคราะห์อภิมาน]]ที่สองปี 2011 ไม่พบผลต่อความเสี่ยง[[มะเร็งต่อมลูกหมาก]]<ref name="Stratton J, Godwin M 243-52">{{cite journal | authors = Stratton, J; Godwin, M | title = The effect of supplemental vitamins and minerals on the development of prostate cancer: a systematic review and meta-analysis | journal = Family Practice | volume = 28 | issue = 3 | pages = 243-52 | date = June 2011 | pmid = 21273283 | doi = 10.1093/fampra/cmq115 }}</ref>
มีงานวิเคราะห์อภิมานสองงาน (2011, 2013) ที่ประเมินผลของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมต่อความเสี่ยง[[มะเร็งลำไส้ใหญ่]]
งานหนึ่งพบความสัมพันธ์อย่างอ่อน ๆ ระหว่างการกินวิตามินซีกับความเสี่ยงที่ลดลง อีกงานหนึ่งไม่พบ<ref>
{{cite journal | authors = Xu, X; Yu, E; Liu, L; Zhang, W; Wei, X; Gao, X; Song, N; Fu, C | title = Dietary intake of vitamins A, C, and E and the risk of colorectal adenoma: a meta-analysis of observational studies | journal = European Journal of Cancer Prevention | volume = 22 | issue = 6 | pages = 529-39 | date = November 2013 | pmid = 24064545 | doi = 10.1097/CEJ.0b013e328364f1eb }}</ref><ref>
{{cite journal | authors = Papaioannou, D; Cooper, KL; Carroll, C; Hind, D; Squires, H; Tappenden, P; Logan, RF | title = Antioxidants in the chemoprevention of colorectal cancer and colorectal adenomas in the general population: a systematic review and meta-analysis | journal = Colorectal Disease | volume = 13 | issue = 10 | pages = 1085-99 | date = October 2011 | pmid = 20412095 | doi = 10.1111/j.1463-1318.2010.02289.x }}</ref>

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2011 อีกงานหนึ่งไม่พบหลักฐานว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมช่วยป้องกัน[[มะเร็งเต้านม]]<ref>{{cite journal | authors = Fulan, H; Changxing, J; Baina, WY; Wencui, Z; Chunqing, L; Fan, W; Dandan, L; Dianjun, S; Tong, W; Da, P; Yashuang, Z | title = Retinol, vitamins A, C, and E and breast cancer risk: a meta-analysis and meta-regression | journal = Cancer Causes & Control | volume = 22 | issue = 10 | pages = 1383-96 | date = October 2011 | pmid = 21761132 | doi = 10.1007/s10552-011-9811-y }}</ref>
แต่งานปี 2014 สรุปว่า วิตามินซีสัมพันธ์กับการรอดชีวิตได้นานขึ้นสำหรับคนไข้ที่วินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านม<ref>{{cite journal | authors = Harris, HR; Orsini, N; Wolk, A | title = Vitamin C and survival among women with breast cancer: a meta-analysis | journal = European Journal of Cancer | volume = 50 | issue = 7 | pages = 1223-31 | date = May 2014 | pmid = 24613622 | doi = 10.1016/j.ejca.2014.02.013 }}</ref>

"การให้วิตามินซีทางเส้นเลือดเป็นการรักษามะเร็งแบบประกอบที่มีข้อโต้แย้งอย่างหนึ่ง ซึ่งใช้อย่างกว้างขวางในการรักษาเนื้องอกและมะเร็งแบบธรรมชาติ (naturopathic oncology) และแบบบูรณาการ (integrative oncology)" โดยเป็นส่วนของ[[การแพทย์ทางเลือก]] (เช่น orthomolecular medicine เป็นต้น)<ref name=Fritz2014>{{cite journal | authors = Fritz, H; Flower, G; Weeks, L; Cooley, K; Callachan, M; McGowan, J; Skidmore, B; Kirchner, L; Seely, D | title = Intravenous Vitamin C and Cancer: A Systematic Review | journal = Integrative Cancer Therapies | volume = 13 | issue = 4 | pages = 280-300 | date = July 2014 | pmid = 24867961 | doi = 10.1177/1534735414534463 }} มีข้อความเป็นต้นว่า
* "Intravenous vitamin C is a contentious adjunctive cancer therapy, widely used in naturopathic and integrative oncology settings."
</ref>
ถ้าใช้กิน ประสิทธิภาพการดูดซึมจะลดลงเมื่อปริมาณสูงขึ้น
แต่การให้ทางเส้นเลือดไม่มีปัญหานี้<ref name=Du2012>{{cite journal | authors = Du, J; Cullen, JJ; Buettner, GR | title = Ascorbic acid: chemistry, biology and the treatment of cancer | journal = Biochimica et Biophysica Acta | volume = 1826 | issue = 2 | pages = 443-57 | date = December 2012 | pmid = 22728050 | pmc = 3608474 | doi = 10.1016/j.bbcan.2012.06.003 }}</ref>
ทำให้สามารถได้ความเข้มข้นในเลือดถึง {{nowrap |5-10 mmol/L}} ซึ่งมากกว่าที่ได้ทางปากคือ {{nowrap |0.2 mmol/L}} อย่างมาก<ref>{{cite journal | authors = Parrow, NL; Leshin, JA; Levine, M | title = Parenteral ascorbate as a cancer therapeutic: a reassessment based on pharmacokinetics | journal = Antioxidants & Redox Signaling | volume = 19 | issue = 17 | pages = 2141-56 | date = December 2013 | pmid = 23621620 | pmc = 3869468 | doi = 10.1089/ars.2013.5372 }}</ref>
ทฤษฏีต่าง ๆ ที่เสนอกลไกการทำงานขัดแย้งกันเอง
ความเข้มข้นของกรดแอสคอร์บิกในเนื้อเยื่อสูงจัดว่า มีฤทธิ์เป็น pro-oxidant คือก่อ[[ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์]] (H<sub>2</sub>O<sub>2</sub>) ที่ฆ่าเซลล์เนื้องอก
pro-oxidant เป็นสารเคมีที่ก่อ oxidative stress โดยก่อกลุ่มออกซิเจนที่ไวปฏิกิริยา (reactive oxygen species) หรือยับยั้งระบบต้านอนุมูลอิสระ<ref>{{Cite journal | pmid = 6094175 | title = Inhibition of cellular antioxidants: a possible mechanism of toxic cell injury | year = 1984 }}<!-- Puglia CD, Powell SR (1984). "Inhibition of cellular antioxidants: a possible mechanism of toxic cell injury". Environ. Health Perspect. 57: 307-11. JSTOR 3429932. PMC 1568295 Freely accessible. PMID 6094175. doi:10.2307/3429932. --></ref>
oxidative stress ที่เกิดสามารถทำลายเซลล์และเนื้อเยื่อ
แต่เอกสารเดียวกันก็อ้างด้วยว่า กรดแอสคอร์บิกมีฤทธิ์เป็น[[สารต้านอนุมูลอิสระ]] ดังนั้นจึงลดผลที่ไม่พึงประสงค์ของ[[เคมีบำบัด]]และการฉายแสง<ref name=Fritz2014 /><ref name=Du2012 />

แม้งานวิจัยก็ยังดำเนินต่อไปในเรื่องเหล่านี้ แต่งานทบทวนปี 2014 ได้สรุปว่า "ในปัจจุบัน การให้วิตามินซีทางเส้นเลือดในปริมาณมาก [โดยเป็นยาต้านมะเร็ง] ไม่อาจแนะนำให้ใช้นอกการทดลองทางคลินิกได้"<ref name=Wil2014>{{cite journal | authors = Wilson, MK; Baguley, BC; Wall, C; Jameson, MB; Findlay, MP | title = Review of high-dose intravenous vitamin C as an anticancer agent | journal = Asia-Pacific Journal of Clinical Oncology | volume = 10 | issue = 1 | pages = 22-37 | date = March 2014 | pmid = 24571058 | doi = 10.1111/ajco.12173 }} มีข้อความเป็นต้นว่า
* "Currently, the use of high-dose intravenous vitamin C [as an anticancer agent] cannot be recommended outside of a clinical trial."
</ref>
งานทบทวนปี 2015 ได้เสริมว่า "ไม่มีหลักฐานคุณภาพดีที่แสดงนัยว่า การให้แอสคอร์เบตเป็นอาหารเสริมในคนไข้มะเร็งเพิ่มผลต้านมะเร็งของเคมีบำบัดหรือลดความเป็นพิษของมัน
หลักฐานเกี่ยวกับผลต้านเนื้องอกของแอสคอร์เบตจำกัดอยู่กับ[[รายงานผู้ป่วย]] [[งานศึกษาแบบสังเกต]] และงานศึกษาที่ไม่มีกลุ่มควบคุม"<ref name=Jacobs2015>{{cite journal | authors = Jacobs, C; Hutton, B; Ng, T; Shorr, R; Clemons, M | title = Is there a role for oral or intravenous ascorbate (vitamin C) in treating patients with cancer? A systematic review | journal = The Oncologist | volume = 20 | issue = 2 | pages = 210-23 | date = February 2015 | pmid = 25601965 | pmc = 4319640 | doi = 10.1634/theoncologist.2014-0381 }} มีข้อความเป็นต้นว่า
* "There is no high-quality evidence to suggest that ascorbate supplementation in cancer patients either enhances the antitumor effects of chemotherapy or reduces its toxicity. Evidence for ascorbate's anti-tumor effects was limited to case reports and observational and uncontrolled studies."
</ref>

=== โรคระบบหัวใจหลอดเลือด ===
งานวิเคราะห์อภิมานปี 2013 ไม่พบหลักฐานว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมลด[[กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด]] ลด[[โรคหลอดเลือดสมอง]] ลดอัตราตายเหตุโรคระบบหัวใจหลอดเลือด และลดอัตราตายเหตุทุกอย่าง<ref name=Ye2013/>
แต่งานปีเดียวกันอีกงานพบความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินซีในเลือดหรือระดับการได้วิตามินซีในอาหาร กับความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่ลดลง<ref>{{cite journal | authors = Chen, GC; Lu, DB; Pang, Z; Liu, QF | title = Vitamin C intake, circulating vitamin C and risk of stroke: a meta-analysis of prospective studies | journal = Journal of the American Heart Association | volume = 2 | issue = 6 | pages = e000329 | date = November 2013 | pmid = 24284213 | pmc = 3886767 | doi = 10.1161/JAHA.113.000329 }}</ref>

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2014 ที่ตรวจงานทดลองทางคลินิก 44 งานแสดงผลดีของวิตามินซีต่อการทำงานของเอนโดทีเลียม/เนื้อเยื่อบุโพรง เมื่อกินมากกว่า {{nowrap |500 มก./วัน}}
เนื้อเยื่อบุโพรงเป็นชั้นเซลล์ที่บุผิวภายในของหลอดเลือด
การทำหน้าที่ผิดปรกติของเนื้อเยื่อบุโพรง (endothelial dysfunction) ยกว่า เป็นเหตุของโรคหลอดเลือดในด้านต่าง ๆ
นักวิจัยของงานตั้งข้อสังเกตว่า ผลของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมดูเหมือนจะขึ้นอยู่กับสุขภาพ คือมีผลดีกว่าสำหรับผู้ที่เสี่ยงโรคระบบหัวใจหลอดเลือดมากกว่า<ref>{{cite journal | authors = Ashor, AW; Lara, J; Mathers, JC; Siervo, M | title = Effect of vitamin C on endothelial function in health and disease: a systematic review and meta-analysis of randomised controlled trials | journal = Atherosclerosis | volume = 235 | issue = 1 | pages = 9-20 | date = July 2014 | pmid = 24792921 | doi = 10.1016/j.atherosclerosis.2014.04.004 }}</ref>

=== การทำงานของสมอง ===
[[งานทบทวนเป็นระบบ]]ปี 2017 พบความเข้มข้นวิตามินซีที่ต่ำกว่าในบุคคลที่พิการทาง[[ประชาน]] รวมทั้งคนไข้[[โรคอัลไซเมอร์]]และภาวะสมองเสื่อม เมื่อเทียบกับคนปกติ<ref name="travica">{{cite journal | authors = Travica, N; Ried, K; Sali, A; Scholey, A; Hudson, I; Pipingas, A | title = Vitamin C status and cognitive function: A systematic review | journal = Nutrients | volume = 9 | issue = 9 | pages = E960 | date = 2017-08-30 | pmid = 28867798 | pmc = 5622720 | doi = 10.3390/nu9090960}}</ref>
แต่วิธีตรวจการทำงานทางประชานที่ใช้ คือ Mini-Mental State Examination เป็นเพียงการตรวจการทำงานแบบทั่ว ๆ ไป ซึ่งชี้ว่าคุณภาพของงานวิจัยทั่ว ๆ ไปที่ประเมินความสำคัญของวิตามินซีต่อการทำงานทางประชานของคนปกติและคนพิการนั้นไม่ดี<ref name=travica/>
งานวิจัยปี 2014 ที่ตรวจสอบสารอาหารในคนไข้โรคอัลไซเมอร์รายงานว่า ในเลือด คนไข้มีวิตามินซี มี[[กรดโฟลิก]] (วิตามินบี{{sub |9}}) [[วิตามินบี12|วิตามินบี{{sub |12}}]] และ[[วิตามินอี]]ทั้งหมดน้อย<ref>{{cite journal | authors = da Silva, Lopes S; Vellas, B; Elemans, S; Luchsinger, J; Kamphuis, P; Yaffe, K; Sijben, J; Groenendijk, M; Stijnen, T | title = Plasma nutrient status of patients with Alzheimer's disease: Systematic review and meta-analysis | journal = Alzheimer's and Dementia | volume = 10 | issue = 4 | pages = 485-502 | date = 2014 | pmid = 24144963 | doi = 10.1016/j.jalz.2013.05.1771 }}</ref>

=== โรคอื่น ๆ ===
งานศึกษาที่ตรวจผลของการได้วิตามินซีต่อความเสี่ยงโรคอัลไซเมอร์ได้ข้อสรุปต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกัน<ref>
{{cite journal | authors = Crichton, GE; Bryan, J; Murphy, KJ | title = Dietary antioxidants, cognitive function and dementia--a systematic review | journal = Plant Foods for Human Nutrition | volume = 68 | issue = 3 | pages = 279-92 | date = September 2013 | pmid = 23881465 | doi = 10.1007/s11130-013-0370-0 }}</ref><ref>
{{cite journal | authors = Li, FJ; Shen, L; Ji, HF | title = Dietary intakes of vitamin E, vitamin C, and β-carotene and risk of Alzheimer's disease: a meta-analysis | journal = Journal of Alzheimer's Disease | volume = 31 | issue = 2 | pages = 253-8 | year = 2012 | pmid = 22543848 | doi = 10.3233/JAD-2012-120349 }}</ref>
การทานอาหารให้ถูกสุขภาพน่าจะสำคัญกว่าการทานอาหารเสริมเพื่อให้ได้ประโยชน์ที่อาจเป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ<ref>{{cite journal | authors = Harrison, FE | title = A critical review of vitamin C for the prevention of age-related cognitive decline and Alzheimer's disease | journal = Journal of Alzheimer's Disease | volume = 29 | issue = 4 | pages = 711-26 | year = 2012 | pmid = 22366772 | pmc = 3727637 | doi = 10.3233/JAD-2012-111853 }}</ref>
งานทบทวนปี 2010 ไม่พบประโยชน์ของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมเพื่อรักษาโรค[[ข้ออักเสบรูมาตอยด์]]<ref>{{cite journal | authors = Rosenbaum, CC; O'Mathúna, DP; Chavez, M; Shields, K | title = Antioxidants and antiinflammatory dietary supplements for osteoarthritis and rheumatoid arthritis | journal = Alternative Therapies in Health and Medicine | volume = 16 | issue = 2 | pages = 32-40 | year = 2010 | pmid = 20232616 }}</ref>
งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 พบว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมไม่ช่วยป้องกันหรือชะลอ[[ต้อกระจก]]ที่เป็นไปตามวัย<ref>{{cite journal | authors = Mathew, MC; Ervin, AM; Tao, J; Davis, RM | title = Antioxidant vitamin supplementation for preventing and slowing the progression of age-related cataract | journal = The Cochrane Database of Systematic Reviews | volume = 6 | issue = 6 | pages = CD004567 | date = June 2012 | pmid = 22696344 | pmc = 4410744 | doi = 10.1002/14651858.CD004567.pub2 }}</ref>

== ผลข้างเคียง ==
วิตามินซี[[ละลายน้ำได้]]<ref name=Medline />
ถ้ากินเกินกว่าที่ร่างกายดูดซึมได้ ก็จะขับออกทาง[[ปัสสาวะ]] จึงไม่ค่อยเป็นพิษโดยฉับพลัน<ref name=lpi2018 />
วิตามินซีมีความเป็นพิษต่ำมาก<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
LD<sub>50</sub> (คือ ขนาดที่ฆ่าประชากร 50%) ในหนูโดยทั่วไปยอมรับที่ {{nowrap |11.9 กรัมต่อกิโลกรัมของน้ำหนักตัว}}เมื่อบังคับให้อาหารทางหลอดสวนกระเพาะ ยังไม่ทราบกลไกการเสียชีวิตจากขนาดดังกล่าว (1.2% ของน้ำหนัดตัว หรือ {{nowrap |0.84 [[กก.]]}} สำหรับมนุษย์หนัก {{nowrap |70 กก.}}) แต่อาจเป็นกลไกเชิงกลมากกว่าเชิงเคมี<ref name="Oxford" /> ส่วน LD<sub>50</sub> ในมนุษย์ยังไม่ทราบ เพราะขาดข้อมูลการเสียชีวิตโดยอุบัติเหตุหรือการได้สารพิษโดยเจตนา ทว่า เช่นเดียวกับสารทุกอย่างที่ทดลองในลักษณะนี้ LD<sub>50</sub> ของหนูยึดเป็นแนวทางสำหรับภาวะพิษในมนุษย์
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
แต่การกินเกินกว่า {{nowrap |2-3 ก./วัน}}อาจทำให้ย่อยอาหารได้ไม่ดี โดยเฉพาะถ้ากินเมื่อท้องว่าง
การกินวิตามินซีในรูปแบบเกลือคือโซเดียมแอสคอร์เบตและแคลเซียมแอสคอร์เบตอาจลดปัญหานี้<ref name=Pauling1976 />
อาการอื่น ๆ ที่เกิดเมื่อกินมากรวมทั้ง[[คลื่นไส้]] [[ปวดท้อง]] และ[[ท้องร่วง]]
ซึ่งยกว่าเป็นผลทาง[[ออสโมซิส]]ของวิตามินซีที่ดูดซึมไม่ได้เมื่อผ่านทางเดินอาหาร<ref name=DRItext2000 />
โดยทฤษฎี การกินวิตามินซีมากอาจเป็นเหตุให้ดูดซึม[[ธาตุเหล็ก]]เกิน
ข้อสรุปงานทบทวนในผู้มีสุขภาพปกติไม่แสดงว่ามีปัญหานี้ แต่ไม่ได้ตรวจว่าความเป็นไปได้ว่า บุคคลที่มี[[ภาวะเหล็กเกิน]]ที่สืบทางพันธุกรรมอาจเกิดปัญหาเช่นนี้ได้<ref name=DRItext2000 />
แม้มีความเชื่อมานานในวงการแพทย์ว่าวิตามินซีเพิ่มความเสี่ยง[[โรคนิ่วไต]]<ref name=BattlingQuackery>{{cite journal | authors = Goodwin, JS; Tangum, MR | title = Battling quackery: attitudes about micronutrient supplements in American academic medicine | journal = Archives of Internal Medicine | volume = 158 | issue = 20 | pages = 2187-91 | date = November 1998 | pmid = 9818798 | doi = 10.1001/archinte.158.20.2187 }}</ref>
แต่ "รายงานว่าเกิดโรคนิ่วไตซึ่งสัมพันธ์กับการได้กรดแอสคอร์บิกมากเกินจำกัดอยู่กับบุคคลที่เป็น[[โรคไต]]"<ref name=DRItext2000 />
โดยงานทบทวนต่าง ๆ ได้แสดงว่า "ข้อมูลจากงานศึกษาทาง[[วิทยาการระบาด]]ไม่สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างการได้กรดแอสคอร์บิกมากเกินกับการเกิดนิ่วไตในบุคคลที่ปรากฏว่าสุขภาพดี"<ref name=DRItext2000 /><ref name=VCreview2003>
{{cite journal | authors = Naidu, KA | title = Vitamin C in human health and disease is still a mystery? An overview | journal = Nutrition Journal | volume = 2 | issue = 7 | pages = 7 | date = August 2003 | pmid = 14498993 | pmc = 201008 | doi = 10.1186/1475-2891-2-7 | url = http://www.nutritionj.com/content/pdf/1475-2891-2-7.pdf | archiveurl = https://web.archive.org/web/20120918153239/http://www.nutritionj.com/content/pdf/1475-2891-2-7.pdf | deadurl = no | archivedate = 2012-09-18 }}</ref>
แม้จะมีงานทดลองขนาดใหญ่ ทำอยู่หลายปี ที่รายงานอัตรากาเกิดนิ่วไตเพิ่มขึ้นถึงสองเท่าสำหรับชายที่กินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมประจำ<ref>{{cite journal | authors = Thomas, LD; Elinder, CG; Tiselius, HG; Wolk, A; Akesson, A | title = Ascorbic acid supplements and kidney stone incidence among men: a prospective study | journal = JAMA Internal Medicine | volume = 173 | issue = 5 | pages = 386-8 | date = March 2013 | pmid = 23381591 | doi = 10.1001/jamainternmed.2013.2296 }}</ref>

== อาหาร ==
=== ระดับแนะนำ ===
{|class="wikitable" style="float:right;"
|-
! style="text-align:center;" colspan="2"|ระดับแนะนำ ([[มก.]]/วัน) ของแพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ ({{abbr |NAM| National Academy of Medicine}}{{Efn-ua | name = USAcademy}})<ref name=DRItext2000 />
|-
|RDA (เด็ก 1-3 ขวบ)
|15
|-
|RDA (เด็ก 4-8 ขวบ)
|25
|-
|RDA (เด็ก 9-13 ปี)
|45
|-
|RDA (ผู้หญิง 14-18 ปี)
|65
|-
|RDA (ผู้ชาย 14-18 ปี)
|75
|-
|RDA (ผู้ใหญ่หญิง)
|75
|-
|RDA (ผู้ใหญ่ชาย)
|90
|-
|RDA (หญิงตั้งครรภ์)
|85
|-
|RDA (หญิงให้นม)
|120
|-
|สูงสุด (ผู้ใหญ่หญิง)
|2,000
|-
|สูงสุด (ผู้ใหญ่ชาย)
|2,000
|}

ทั่วโลก องค์กรแห่งชาติต่าง ๆ ได้ตั้งระดับที่แนะนำให้ได้วิตามินซีแต่ละวัน
* 40 มก./วัน (อินเดีย - สถาบันโภชนศาสตร์แห่งชาติ เมือง[[ไฮเดอราบาด (ประเทศอินเดีย)|ไฮเดอราบาด]])<ref name="NIN">{{cite web | url = http://ninindia.org/DietaryGuidelinesforNINwebsite.pdf | title = Dietary Guidelines for Indians | publisher = National Institute of Nutrition, India | date = 2011}}</ref>
* 45 มก./วัน หรือ 300 มก./สัปดาห์ ([[องค์การอนามัยโลก]])<ref name="isbn92-4-154612-3">{{cite book | author = World Health Organization | title = Vitamin and Mineral Requirements in Human Nutrition, Second Edition | publisher = World Health Organization | location = Geneva | year = 2004 | isbn = 978-92-4-154612-6 | chapter = Chapter 7: Vitamin C | chapterurl = http://whqlibdoc.who.int/publications/2004/9241546123_chap7.pdf | access-date = 2007-02-20 | deadurl = no | url = http://whqlibdoc.who.int/publications/2004/9241546123_chap7.pdf | archive-url = https://web.archive.org/web/20071129082535/http://whqlibdoc.who.int/publications/2004/9241546123_chap7.pdf | archivedate = 2007-11-29 }}</ref>
*80 มก./วัน (สภา[[คณะกรรมาธิการยุโรป]]ในเรื่องป้ายอาหาร)<ref name="EU RDA">{{cite web | url = http://eur-lex.europa.eu/legal-content/en/TXT/?uri=CELEX%3A32008L0100 | title = Commission Directive 2008/100/EC of 28 October 2008 amending Council Directive 90/496/EEC on nutrition labelling for foodstuffs as regards recommended daily allowances, energy conversion factors and definitions | publisher = The Commission of the European Communities | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20161002233059/http://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/?uri=CELEX%3A32008L0100 | archivedate = 2016-10-02 | date = 2008-10-29 }}</ref>
*90 มก./วัน (ชาย) และ 75 มก./วัน (หญิง) (กระทรวงสาธารณสุขแคนาดา<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
Health Canada
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***--> 2007)<ref name="urlNatural Health Product Monograph - Vitamin C [Health Canada, 2007]">{{cite web | url = http://www.hc-sc.gc.ca/dhp-mps/prodnatur/applications/licen-prod/monograph/mono_vitamin_c-eng.php | work = Natural Health Product Monograph | title = Vitamin C | publisher = Health Canada | deadurl = yes | archiveurl = https://web.archive.org/web/20130403150228/http://www.hc-sc.gc.ca/dhp-mps/prodnatur/applications/licen-prod/monograph/mono_vitamin_c-eng.php | archivedate = 2013-04-03 }}</ref>
*90 มก./วัน (ชาย) และ 75 มก./วัน (หญิง) (แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ {{bracket |{{abbr |NAS| National Academy of Sciences }}{{Efn-ua | name = USAcademy}}}}<ref name=DRItext2000 />
*100 มก./วัน (สถาบันสุขภาพและโภชนาการแห่งชาติญี่ปุ่น<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
Japan National Institute of Health and Nutrition.
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->)<ref name=JapanDRI>{{cite journal | url = https://www.jstage.jst.go.jp/article/jnsv/59/Supplement/59_S67/_pdf | format = [[PDF]] | title = Dietary Reference Intakes for Japanese 2010: Water-Soluble Vitamins | journal = Journal of Nutritional Science and Vitaminology | volume = 2013 | issue = 59 | pages = S67-S82 }} </ref>
*110 มก./วัน (ชาย) และ 95 มก./วัน (หญิง) (สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป {{bracket |{{abbr |EFSA| European Food Safety Authority }}}})<ref name=EFSA-Recommended>{{cite web | title = Overview on Dietary Reference Values for the EU population as derived by the EFSA Panel on Dietetic Products, Nutrition and Allergies | year = 2017 | url = https://www.efsa.europa.eu/sites/default/files/assets/DRV_Summary_tables_jan_17.pdf | format = [[PDF]] | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170828082247/https://www.efsa.europa.eu/sites/default/files/assets/DRV_Summary_tables_jan_17.pdf | archivedate = 2017-08-28 }}</ref>

ในปี 2000 แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ ({{abbr |NAM| National Academy of Medicine}}{{Efn-ua | name = USAcademy }}) ได้เปลี่ยนระดับอาหารที่แนะนำ (Recommended Dietary Allowance ตัวย่อ RDA) เป็น {{nowrap |90 มก./วัน}} สำหรับชายผู้ใหญ่ และ {{nowrap |75 มก./วัน}} สำหรับหญิงผู้ใหญ่ และตั้งระดับสูงสุด (Tolerable upper intake level ตัวย่อ UL) สำหรับผู้ใหญ่ที่ {{nowrap |2,000 มก./วัน}}<ref name=DRItext2000 />
ตารางยังแสดง RDA สำหรับสหรัฐและแคนาดาสำหรับเด็ก หญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมลูกอีกด้วย<ref name=DRItext2000 />
สำหรับ[[สหภาพยุโรป]] สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป ({{abbr |EFSA| European Food Safety Authority }}) ตั้งระดับแนะนำที่สูงกว่าสำหรับผู้ใหญ่รวมทั้งเด็ก คือ 20&nbsp;มก./วันสำหรับเด็ก {{nowrap |1-3 ขวบ}}, 30&nbsp;มก./วันสำหรับเด็ก {{nowrap |4-6 ขวบ}}, 45&nbsp;มก./วันสำหรับเด็ก {{nowrap |7-10 ขวบ}}, 70&nbsp;มก./วันสำหรับเด็ก {{nowrap |11-14 ปี}}, 100&nbsp;มก./วันสำหรับชาย {{nowrap |15-17 ปี}}, 90&nbsp;มก./วันสำหรับหญิง {{nowrap |15-17 ปี}},
100&nbsp;มก./วันสำหรับหญิงตั้งครรภ์
155&nbsp;มก./วันสำหรับหญิงให้นมลูก<ref name=EFSA-Recommended />
แต่อินเดียตั้งระดับที่ต่ำกว่ามาก คือ 40&nbsp;มก./วันสำหรับเด็กตั้งแต่ {{nowrap |1 ขวบ}}จนถึงผู้ใหญ่, 60&nbsp;มก./วันสำหรับหญิงตั้งครรภ์ และ 80&nbsp;มก./วันสำหรับหญิงให้นมลูก<ref name="NIN" />
จึงชัดเจนว่า ประเทศต่าง ๆ ไม่มีความเห็นพ้องร่วมกัน

ผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่กับผู้สูบบุหรี่จะมีระดับวิตามินซีในเลือดต่ำกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่
ซึ่งเชื่อว่า เกิดจากความเสียหายเนื่องกับออกซิเดชั่น (oxidative damage) ร่างกายจึงใช้วิตามินซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระนี้ให้หมดไป<ref name=DRItext2000 /><ref name=JapanDRI />
แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐประมาณว่า ผู้สูบบุหรี่จำเป็นต้องได้วิตามินซี 35&nbsp;มก./วันมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ก็ไม่ได้ตั้งระดับแนะนำที่สูงกว่าสำหรับผู้สูบบุหรี่อย่างเป็นรูปธรรม<ref name=DRItext2000 />
งานวิเคราะห์อภิมานปี 2014 แสดงความสัมพันธ์ผกผันระหว่างระดับการได้วิตามินซีกับมะเร็งปอด แต่ก็สรุปว่าจำเป็นต้องวิจัยยิ่งขึ้นเพื่อยืนยันสังเกตการณ์นี้<ref>{{cite journal | authors = Luo, J; Shen, L; Zheng, D | title = Association between vitamin C intake and lung cancer: a dose-response meta-analysis | journal = Scientific Reports | volume = 4 | pages = 6161 | date = 2014 | pmid = 25145261 | pmc = 5381428 | doi = 10.1038/srep06161 | bibcode = 2014NatSR...4E6161L }}</ref>

ศูนย์สถิติสุขภาพแห่งชาติสหรัฐได้สำรวจใน{{nowrap |ปี 2013-2014}} และรายงานว่า
สำหรับผู้ใหญ่อายุ 20 ปีขึ้น ชายได้วิตามินซีโดยเฉลี่ย 83.3&nbsp;มก./วันและหญิง 75.1&nbsp;มก./วัน
ซึ่งหมายความว่าหญิงครึ่งหนึ่งและชายมากกว่าครึ่งไม่ได้วิตามินซีตามระดับที่แนะนำ (RDA)<ref>[https://www.ars.usda.gov/ARSUserFiles/80400530/pdf/1314/Table_1_NIN_GEN_13.pdf "TABLE 1: Nutrient Intakes from Food and Beverages"] {{webarchive | url = https://web.archive.org/web/20170224042515/https://www.ars.usda.gov/ARSUserFiles/80400530/pdf/1314/Table_1_NIN_GEN_13.pdf | date = 2017-02-24 }} What We Eat In America, NHANES 2012-2014</ref>
งานสำรวจเดียวกันระบุว่า ผู้ใหญ่ 30% รายงานว่าตนบริโภควิตามินซีหรือวิตามิน/แร่ธาตุรวมที่มีวิตามินซีเป็นอาหารเสริม และในคนกลุ่มนี้ ปริมาณที่ได้ทั้งหมดอยู่ที่ 300-400&nbsp;มก./วัน<ref>[https://www.ars.usda.gov/ARSUserFiles/80400530/pdf/1314/Table_37_SUP_GEN_13.pdf "TABLE 37: Nutrient Intakes from Dietary Supplements"] {{webarchive | url = https://web.archive.org/web/20171006162231/https://www.ars.usda.gov/ARSUserFiles/80400530/pdf/1314/Table_37_SUP_GEN_13.pdf | date = 2017-10-06 }} What We Eat In America, NHANES 2012-2014</ref>

ในปี 2000 แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ ({{abbr |NAM| National Academy of Medicine }}) ตั้งระดับสูงสุด ({{abbr |UL| Tolerable upper intake level }}) สำหรับผู้ใหญ่ที่ 2,000&nbsp;มก./วัน
เพราะงานทดลองในมนุษย์รายงานอาการท้องร่วงและปัญหาทางเดินอาหารอื่น ๆ เมื่อได้มากกว่า 3,000&nbsp;มก./วัน
นี่เป็นระดับต่ำสุดที่เริ่มมีปัญหา ({{abbr |LOAEL| Lowest-Observed-Adverse-Effect Level }}) คือปัญหาอื่น ๆ พบในระดับที่สูงกว่า<ref name=DRItext2000 />
ส่วนสำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป ({{abbr |EFSA| European Food Safety Authority }}) ทบทวนปัญหาความปลอดภัยนี้ในปี 2006 แล้วได้สรุปว่า ไม่มีหลักฐานพอตั้งระดับสูงสุดสำหรับวิตามินซี<ref>{{cite web | title = Tolerable Upper Intake Levels For Vitamins And Minerals | publisher = European Food Safety Authority | year = 2006 | url = http://www.efsa.europa.eu/sites/default/files/efsa_rep/blobserver_assets/ndatolerableuil.pdf | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20160316225123/http://www.efsa.europa.eu/sites/default/files/efsa_rep/blobserver_assets/ndatolerableuil.pdf | archivedate = 2016-03-16 }}</ref>
ซึ่งสถาบันสุขภาพและโภชนาการแห่งชาติญี่ปุ่นก็ได้สรุปเช่นเดียวกันในปี 2010<ref name=JapanDRI />
<!--เผื่ออนาคต === ป้ายอาหาร ===
For U.S. food and dietary supplement labeling purposes, the amount in a serving is expressed as a percent of Daily Value (%DV).
For vitamin C labeling purposes, 100% of the Daily Value was 60&nbsp;mg, but as of May 27, 2016 it was revised to 90&nbsp;mg to bring it into agreement with the RDA.<ref name="FedReg">{{cite web | url = https://www.gpo.gov/fdsys/pkg/FR-2016-05-27/pdf/2016-11867.pdf | title = Federal Register May 27, 2016 Food Labeling: Revision of the Nutrition and Supplement Facts Labels. FR page 33982. | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20160808164651/https://www.gpo.gov/fdsys/pkg/FR-2016-05-27/pdf/2016-11867.pdf | archivedate = 2016-08-08 }}</ref>
A table of the old and new adult Daily Values is provided at [[Reference Daily Intake]].
The original deadline to be in compliance was July 28, 2018, but on September 29, 2017 the FDA released a proposed rule that extended the deadline to January 1, 2020 for large companies and January 1, 2021 for small companies.<ref name="FDAdelay">{{cite web | url = https://www.fda.gov/Food/GuidanceRegulation/GuidanceDocumentsRegulatoryInformation/LabelingNutrition/ucm385663.htm#dates | title = Changes to the Nutrition Facts Panel - Compliance Date | website = US Department of Agriculture | access-date = 2018-08-09}}</ref>

European Union regulations require that labels declare energy, protein, fat, saturated fat, carbohydrates, sugars, and salt.
Voluntary nutrients may be shown if present in significant amounts.
Instead of Daily Values, amounts are shown as percent of Reference Intakes (RIs).
For vitamin C, 100% RI was set at 80&nbsp;mg in 2011.<ref>[http://eur-lex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:2011:304:0018:0063:EN:PDF REGULATION (EU) No 1169/2011 OF THE EUROPEAN PARLIAMENT AND OF THE COUNCIL] Official Journal of the European Union. page 304/61. (2009).</ref> -->
=== แหล่งที่ได้ ===
แหล่งธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุดก็คือ[[ผัก]]และ[[ผลไม้]]<ref name=lpi2018 />
วิตามินซีเป็นอาหารเสริมที่กินกันมากที่สุดและมีอยู่ในหลายรูปแบบ<ref name=lpi2018 />
รวมทั้งยาเม็ด ยาสำหรับผสมเครื่องดื่ม และยาแคปซูล

==== จากพืช ====
แม้พืชจะเป็นแหล่งอาหารที่ดีสำหรับวิตามินซี แต่ปริมาณก็จะขึ้นอยู่กับชนิดพืช คุณภาพดิน ภูมิอากาศ เก็บเกี่ยวเมื่อไร วิธีการเก็บ และวิธีการจัดขาย<ref name=":0">
{{Cite journal | authors = Duarte, A; Caixeirinho, D; Miguel, G; Sustelo, V; Nunes, C; Mendes, M; Marreiros, A | date = 2010 | title = Vitamin C Content of Citrus from Conventional versus Organic Farming Systems | url = https://www.researchgate.net/publication/216361377 | journal = Acta Horticulturae | volume = 868 | issue = 868 | pages = 389-394 | doi = 10.17660/ActaHortic.2010.868.52 | hdl = 10400.1/1158}}</ref><ref>
{{cite web | title = The vitamin and mineral content is stable | url = http://www.uk.foedevarestyrelsen.dk/Nutrition/Vitamin_mineral_content_is_stable/forside.htm | publisher = Danish Veterinary and Food Administration | access-date = 2014-11-20 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20111014053424/http://www.uk.foedevarestyrelsen.dk/Nutrition/Vitamin_mineral_content_is_stable/forside.htm | archivedate = 2011-10-14}}</ref>
ตารางต่อไปนี้แสดงค่าประมาณ เพื่อเปรียบเทียบความสมบูรณ์ระหว่างพืชต่าง ๆ<ref>
{{cite web | url = http://ndb.nal.usda.gov/ | title = NDL/FNIC Food Composition Database Home Page | access-date = 2014-11-20 | publisher = USDA Nutrient Data Laboratory, the Food and Nutrition Information Center and Information Systems Division of the National Agricultural Library. | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20141115094406/http://ndb.nal.usda.gov/ | archivedate = 2014-11-15 }}</ref><ref name=natural-vit-c>
{{cite web | url = http://www.naturalhub.com/natural_food_guide_fruit_vitamin_c.htm | title = Natural food-Fruit Vitamin C Content | access-date = 2007-03-07 | publisher = The Natural Food Hub | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20070307160608/http://www.naturalhub.com/natural_food_guide_fruit_vitamin_c.htm | archivedate = 2007-03-07 }}</ref>
แต่เพราะพืชบางอย่างวิเคราะห์เมื่อสด บางอย่างก็ตากแห้งแล้ว (ซึ่งก็จะเพิ่มความเข้มข้นขององค์ประกอบต่าง ๆ รวมทั้งวิตามินซี) ข้อมูลอาจมีค่าแปรผันหรืออาจเปรียบเทียบกันได้ยาก
ปริมาณเป็น[[มิลลิกรัม]]ต่อร้อย[[กรัม]]ของผักผลไม้ส่วนที่กินได้
<div style="float:left; padding: 1em;">
{|class="wikitable"
|-
!พืช<ref name=USDA-NDL>[https://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list USDA Food Composition Databases] United States Department of Agriculture, Agricultural Research Service. Release 28 (2015).</ref>
!ปริมาณ<br /> (มก./100 ก.)
|-
|[[Terminalia|ลูกพลัมคอกคาทู (Kakadu plum)]] || 1,000–5,300<ref>{{cite journal | title = The nutritional composition of Australian aboriginal bushfoods. I | year = 1987 |authors = Brand, JC; Rae, C; McDonnell, J; Lee, A; Cherikoff, V; Truswell, AS | journal = Food Technology in Australia | volume = 35 | issue = 6 | pages = 293-296 }}</ref>
|-
|[[กามูกามู]] || 2,800<ref name=natural-vit-c /><ref name="pmid11464674">{{cite journal |authors = Justi, KC; Visentainer, JV; de Souza N, Evelázio; Matsushita, M | title = Nutritional composition and vitamin C stability in stored camu-camu (Myrciaria dubia) pulp | journal = Archivos Latinoamericanos de Nutricion | volume = 50 | issue = 4 | pages = 405-8 | date = December 2000 | pmid = 11464674 }}</ref>
|-
|[[เชอร์รีสเปน]] || 1,677<ref>{{cite journal | title = Chemical composition of acerola fruit (Malpighia punicifolia L.) at three stages of maturity |authors = Vendramini, AL; Trugo, LC | journal = Food Chemistry | volume = 71 | issue = 2 | year = 2000 | pages = 195-198 | doi = 10.1016/S0308-8146(00)00152-7 }}</ref>
|-
|[[วงศ์มะหลอด|Seabuckthorn]] || 695
|-
|[[มะขามป้อม]] || 445
|-
|ผลวิสามัญ<!--*** footnote begins ***-->{{Efn-ua |
accessory fruit
}}<!--*** footnote ends ***-->ของ[[กุหลาบ]] || 426
|-
|[[ฝรั่ง]] || 228
|-
|[[อันดับอัสดง|Blackcurrant]] || 200
|-
| [[พริกหยวก|พริกหยวกเหลือง]] || 183
|-
|[[พริกหยวก|พริกหยวกแดง]] || 128
|-
|ผักกะหล่ำปีเคล (Kale) || 120
|-
|[[กีวี (พืช)|กีวี]], [[บรอกโคลี]] || 90
|}
</div>
<div style="float:left; padding: 1em;">
{|class="wikitable"
|-
!พืช<ref name=USDA-NDL />
!!ปริมาณ<br /> (มก./100 ก.)
|-
|[[พริกหยวก|พริกหยวกเขียว]] ||80
|-
|loganberry, redcurrant, [[กะหล่ำดาว]] ||80
|-
|cloudberry, elderberry || 60
|-
|[[มะละกอ]], [[สตรอว์เบอร์รี]] || 60
|-
|[[ส้ม]], [[เลมอน]] || 53
|-
|[[สับปะรด]], กะหล่ำดอก || 48
|-
|[[แคนตาลูป]] || 40
|-
|[[เกรปฟรูต]], [[แรสเบอร์รี]] || 30
|-
|[[เสาวรส]], [[ผักโขม]] || 30
|-
|[[กะหล่ำปลี]], [[มะนาว]] || 30
|-
|[[มะม่วง]] || 28
|-
|[[แบล็กเบอร์รี]] || 21
|}
</div>
<div style="float:left; padding: 1em;">
{|class="wikitable"
|-
!พืช<ref name=USDA-NDL />
!ปริมาณ<br /> (มก./100 ก.)
|-
|[[มันฝรั่ง]], honeydew melon || 20
|-
|[[มะเขือเทศ]] || 14
|-
|[[แครนเบอร์รี]] || 13
|-
|[[บลูเบอร์รี]], [[องุ่น]] || 10
|-
|[[เอพริคอต]], [[พลัม]], [[แตงโม]] || 10
|-
|[[อาโวคาโด]] || 8.8
|-
|[[หอมใหญ่]] || 7.4
|-
|[[เชอร์รี]], [[ท้อ]] || 7
|-
|[[แคร์รอต]], [[แอปเปิล]], [[หน่อไม้ฝรั่ง]] || 6
|}
</div>{{Clear}}

==== จากสัตว์ ====
[[ไฟล์:Goat.jpg|thumb|
เหมือนสัตว์อื่น ๆ แต่ไม่เหมือนมนุษย์ [[แพะ]]ผลิตวิตามินซีได้เอง
แพะโตแล้วที่หนักราว ๆ {{nowrap |70 [[กก.]]}} จะผลิตวิตามินซีเกิน {{nowrap |13,300 [[มก.]]/วัน}} ถ้าสุขภาพปกติ และจะผลิตมากกว่านั้นเป็นหลายเท่าตัวเมื่อไม่ปกติ<ref name=Chatterjee_IB>{{cite journal | authors = Chatterjee, IB | title = Evolution and the biosynthesis of ascorbic acid | journal = Science | volume = 182 | issue = 4118 | pages = 1271-2 | date = December 1973 | pmid = 4752221 | doi = 10.1126/science.182.4118.1271 | bibcode = 1973Sci...182.1271C }}</ref>
]]

อาหารที่ได้จากสัตว์มีวิตามินซีน้อย และที่มีก็จะถูกทำลายโดยความร้อนเมื่อหุงต้ม
เช่น ตับไก่ดิบมี {{nowrap |17.9 มก./100 ก.}} แต่เมื่อผัด จะเหลือแค่ {{nowrap |2.7 มก./100 ก.}}
ไข่ไก่ไม่มีวิตามินซีไม่ว่าจะสุกหรือไม่สุก<ref>[https://ndb.nal.usda.gov/ndb/search/list USDA Food Composition Databases] United States Department of Agriculture, Agricultural Research Service. Release 28 (2015).</ref>
นมแม่มีวิตามินซี {{nowrap |5.0 มก./100 ก.}} เทียบกับนมสูตรทารก (สหรัฐ) ตัวอย่างหนึ่งที่มี {{nowrap |6.1 มก./100 ก.}} เทียบกับนมวัวที่ {{nowrap |1.0 มก./100 ก.}}<ref>{{cite web | url = http://www.saanendoah.com/compare.html | title = Comparing Milk: Human, Cow, Goat & Commercial Infant Formula | access-date = 2007-02-28 | date = 2007-01-08 | author = Clark, S | publisher = Washington State University | archiveurl = https://web.archive.org/web/20070129024619/http://www.saanendoah.com/compare.html | archivedate = 2007-01-29}}</ref>

=== การหุงต้มอาหาร ===
วิตามินซีจะสลายตัวในสถานการณ์บางอย่าง หลายอย่างเกิดเมื่อหุงต้มอาหาร
ความเข้มข้นของวิตามินในอาหารยังลดลงตามเวลาและตามอุณหภูมิที่เก็บไว้<ref name="pmid7621082">{{cite journal | authors = Roig, MG; Rivera, ZS; Kennedy, JF | title = A model study on rate of degradation of L-ascorbic acid during processing using home-produced juice concentrates | journal = International Journal of Food Sciences and Nutrition | volume = 46 | issue = 2 | pages = 107-15 | date = May 1995 | pmid = 7621082 | doi = 10.3109/09637489509012538 }}</ref>
การหุงต้มสามารถลดวิตามินซีใน[[ผัก]]ราว ๆ 60% ส่วนหนึ่งก็เพราะการสลายตัวอาศัย[[เอนไซม์]]ซึ่งอาจเกิดได้มากกว่าเมื่ออุณหภูมิต่ำกว่า {{nowrap |100 [[องศาเซลเซียส]]}}<ref name="pmid14801407">{{cite journal | authors = Allen, MA; Burgess, SG | title = The losses of ascorbic acid during the large-scale cooking of green vegetables by different methods | journal = The British Journal of Nutrition | volume = 4 | issue = 2-3 | pages = 95-100 | year = 1950 | pmid = 14801407 | doi = 10.1079/BJN19500024 }}</ref>
ยิ่งหุงต้มนาน ผลเช่นนี้ก็จะเกิดมากขึ้น และการหุงต้มในภาชนะทองแดงก็ยัง[[เร่งปฏิกิริยา]]การสลายตัวเช่นนี้<ref name="Oxford">{{cite web | url = http://physchem.ox.ac.uk/MSDS/AS/ascorbic_acid.html | title = Safety (MSDS) data for ascorbic acid | access-date = 2007-02-21 | date = 2005-10-09 | publisher = Oxford University | deadurl = no | archiveurl = https://archive.today/20070209221915/http://physchem.ox.ac.uk/MSDS/AS/ascorbic_acid.html | archivedate = 2007-02-09 }}</ref>

วิตามินซีในอาหารยังอาจซึมชะละลายลงในน้ำที่ใช้หุงต้ม<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
ผ่านกระบวนการ leaching (การซึมชะละลาย)
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***-->
ซึ่งก็จะไม่ได้กินเมื่อเททิ้งไป
แต่วิตามินซีในผักผลไม้ก็ไม่ได้ละลายออกในอัตราเท่า ๆ กัน
งานวิจัยแสดงว่า [[บรอกโคลี]]ดูเหมือนจะเก็บวิตามินซีได้ดีกว่าผักผลไม้อื่น ๆ<ref name=Combs>{{cite book | authors = Combs, GF | title = The Vitamins, Fundamental Aspects in Nutrition and Health | edition = 2nd | place = San Diego, CA | publisher = Academic Press | year = 2001 | pages = 245-272 | isbn = 978-0-12-183492-0}}</ref>
งานวิจัยยังแสดงด้วยว่าผลไม้ที่เก็บเกี่ยวสด ๆ จะไม่เสียสารอาหารไปอย่างสำคัญถ้าเก็บไว้ใน[[ตู้เย็น]] {{nowrap |2-3 วัน}}<ref>{{cite web | url = http://www.webmd.com/content/article/123/115022.htm | title = Fresh-Cut Fruit May Keep Its Vitamins | access-date = 2007-02-25 | date = 2006-06-02 | authors = Miranda, H | website = WebMD | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20060726214513/http://www.webmd.com/content/article/123/115022.htm | archivedate = 2006-07-26 }}</ref>

=== อาหารเสริม ===
อาหารเสริมเป็นวิตามินซีมีเป็นเม็ด แคปซูล เป็นผงสำเร็จรูปสำหรับละลายน้ำ อยู่ในวิตามินและแร่ธาตุรวม อยู่ในสูตรเพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และผงที่ทำเป็นผลึก<ref name=AHFS2016 />
อนึ่ง น้ำผลไม้และน้ำหวานอื่น ๆ อาจเติมวิตามินซีด้วย
ขนาดเม็ดหรือแคปซูลเริ่มตั้งแต่ 25&nbsp;มก. ไปจนถึง 1,500&nbsp;มก.
รูปแบบที่ใช้เป็นอาหารเสริมมากที่สุดคือกรดแอสคอร์บิก โซเดียมแอสคอร์เบต และแคลเซียมแอสคอร์เบต<ref name=AHFS2016 />
โมเลกุลของวิตามินซียังสามารถยึดกับกรดไขมันคือ palmitate กลายเป็น ascorbyl palmitate หรืออาจใส่เข้าใน liposome<!--*** เริ่มเชิงอรรถ ***-->{{Efn-ua |
'''liposome''' เป็นถุงกลมเล็ก ๆ ที่มีเยื่อหุ้มเป็นลิพิดสองชั้น (lipid bilayer) อย่างน้อย 1 ชุด
ซึ่งสามารถใช้เพื่อนำส่งสารอาหารหรือยา
liposome สามารถทำได้โดยทำลายเยื่อหุ้มทางชีวภาพ (เช่นใช้เสียงผ่านกระบวนการ sonication)
}}<!--*** จบเชิงอรรถ ***--><ref>{{cite journal | authors = Davis, JL; Paris, HL; Beals, JW; Binns, SE; Giordano, GR; Scalzo, RL; Schweder, MM; Blair, E; Bell, C | title = Liposomal-encapsulated Ascorbic Acid: Influence on Vitamin C Bioavailability and Capacity to Protect Against Ischemia-Reperfusion Injury | journal = Nutrition and Metabolic Insights | volume = 9 | pages = 25-30 | year = 2016 | pmid = 27375360 | pmc = 4915787 | doi = 10.4137/NMI.S39764 }}</ref>

=== การเสริมในอาหาร ===
ใน[[ประเทศแคนาดา]] มีอาหารหลายอย่างที่ผู้ผลิตสามารถอาสาเติมวิตามินซีเอง และหลายอย่างที่บังคับให้ต้องเติม
อาหารที่ต้องเติมวิตามินซีรวมทั้งเครื่องดื่มรสผลไม้ ผงชงเป็นเครื่องดื่มรสผลไม้ อาหารที่ใช้เป็นส่วนของไดเอ็ตพลังงานต่ำ ผลิตภัณฑ์กินแทนอาหาร และ[[นมข้น]]<ref name="Can14">{{cite web | url = http://www.inspection.gc.ca/food/labelling/food-labelling-for-industry/nutrient-content/reference-information/eng/1389908857542/1389908896254?chap=1 | title = Addition of Vitamins and Minerals to Food, 2014 | access-date = 2017-11-20 | publisher = Canadian Food Inspection Agency, Government of Canada }}</ref>

=== การเติมในอาหาร ===
กรดแอสคอร์บิกและรูปแบบเกลือและ[[เอสเทอร์]]ต่าง ๆ ของมันเป็นสารเติมแต่งอาหารที่สามัญโดยมากเพื่อชะลอกระบวนการออกซิเดชัน
หมายเลขสารเติมแต่งอาหารที่ใช้รวมทั้ง
# E300 กรดแอสคอร์บิก (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน [[สหภาพยุโรป|EU]]<ref name="food.gov.uk">UK Food Standards Agency: {{cite web | url = http://www.food.gov.uk/safereating/chemsafe/additivesbranch/enumberlist | title = Current EU approved additives and their E Numbers | accessdate = 2011-10-27}}</ref>, [[สหรัฐ|U.S.]]<ref name="fda.gov">U.S. Food and Drug Administration: {{cite web | url = http://www.fda.gov/Food/FoodIngredientsPackaging/FoodAdditives/FoodAdditiveListings/ucm091048.htm | title = Listing of Food Additives Status Part I | accessdate = 2011-10-27 | deadurl = yes | archiveurl = https://web.archive.org/web/20120117060614/http://www.fda.gov/Food/FoodIngredientsPackaging/FoodAdditives/FoodAdditiveListings/ucm091048.htm | archivedate = 2012-01-17 }}</ref>, [[ออสเตรเลีย]]และ[[นิวซีแลนด์]]<ref name="comlaw.gov.au">Australia New Zealand Food Standards Code {{cite web | url = http://www.comlaw.gov.au/Details/F2011C00827 | title = Standard 1.2.4 - Labelling of ingredients | accessdate = 2011-10-27}}</ref>)
# E301 โซเดียมแอสคอร์เบต (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU<ref name="food.gov.uk"/>, U.S.<ref>U.S. Food and Drug Administration: {{cite web | url = http://www.fda.gov/Food/FoodIngredientsPackaging/FoodAdditives/ucm191033.htm#ftnT | title = Listing of Food Additives Status Part II | accessdate = 2011-10-27}}</ref>, ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์<ref name="comlaw.gov.au"/>)
# E302 แคลเซียมแอสคอร์เบต (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU<ref name="food.gov.uk"/>, U.S.<ref name="fda.gov"/>, ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์<ref name="comlaw.gov.au"/>)
# E303 โพแทสเซียมแอสคอร์เบต (potassium ascorbate) (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์<ref name="comlaw.gov.au"/> แต่ไม่อนุมัติในสหรัฐ )
# E304 เอสเทอร์กรดไขมันของกรดแอสคอร์บิก เช่น ascorbyl palmitate (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU<ref name="food.gov.uk"/>, U.S.<ref name="fda.gov"/>, ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์<ref name="comlaw.gov.au"/>)


== เชิงอรรถ ==
== เชิงอรรถ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:56, 12 กันยายน 2562

วิตามินซี
Natta projection of structural formula for L-ascorbic acid
Ball-and-stick model of L-ascorbic acid
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่ออื่นl-ascorbic acid, กรดแอสคอร์บิก, แอสคอร์เบต
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682583
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • A (จนถึงระดับ RDA), C (เหนือระดับ RDA)
ช่องทางการรับยาทางปาก ฉีดที่กล้ามเนื้อ ให้ทางเส้นเลือด ฉีดใต้ผิวหนัง
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • ซื้อเองได้ (ทางปาก) ใบสั่งแพทย์ (เมื่อฉีด)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลรวดเร็วและสมบูรณ์
การจับกับโปรตีนน้อยมาก
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นในเลือด
การขับออกไต
ตัวบ่งชี้
  • l-threo-Hex-2-enono-1,4-lactone
    หรือ
    (R)-3,4-Dihydroxy-5-((S)- 1,2-dihydroxyethyl)furan-2(5H)-one
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
NIAID ChemDB
E numberE300 (antioxidants, ...)
ECHA InfoCard100.000.061
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC6H8O6
มวลต่อโมล176.12 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
ความหนาแน่น1.694 g/cm3
จุดหลอมเหลว190–192 องศาเซลเซียส (374–378 องศาฟาเรนไฮต์) (บางส่วนจะสลายไป)[1]
จุดเดือด553 องศาเซลเซียส (1,027 องศาฟาเรนไฮต์)
  • OC[C@H](O)[C@H]1OC(=O)C(O)=C1O
  • InChI=1S/C6H8O6/c7-1-2(8)5-3(9)4(10)6(11)12-5/h2,5,7-10H,1H2/t2-,5+/m0/s1 checkY
  • Key:CIWBSHSKHKDKBQ-JLAZNSOCSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

วิตามินซี หรือ กรดแอสคอร์บิก หรือ l-ascorbic acid (กรดแอล-แอสคอร์บิก) หรือ แอสคอร์เบต (อังกฤษ: ascorbate เป็นแอนไอออน [anion] ของกรดแอสคอร์บิก) เป็นวิตามินที่พบในอาหารและอาหารเสริมต่าง ๆ[2] ใช้ป้องกันและรักษาโรคลักปิดลักเปิด[2] เป็นสารอาหารจำเป็นที่ใช้ซ่อมแซมเนื้อเยื่อและผลิตสารสื่อประสาทบางอย่างโดยอาศัยเอนไซม์[2][3] จำเป็นในการทำงานของเอนไซม์หลายอย่างและสำคัญต่อการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน[3][4] และยังเป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วย[5] เป็นสารอาหารจำเป็นสำหรับมนุษย์และสัตว์อื่นบางชนิด เป็นวิตามินที่ละลายน้ำได้[6] แอสคอร์เบตจำเป็นในเมแทบอลิซึมของสัตว์และพืชทุกชนิด สิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิดสามารถสังเคราะห์ได้ ที่สังเคราะห์ไม่ได้ต้องได้จากอาหาร

หลักฐานจนถึงปี 2016 ไม่สนับสนุนให้ใช้ป้องกันโรคหวัดธรรมดา[5][7] แต่มีหลักฐานว่าการใช้เป็นประจำทำให้หายหวัดเร็วขึ้น[8] ไม่ชัดเจนว่าการกินเป็นอาหารเสริมมีผลต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โรคระบบหัวใจหลอดเลือด และภาวะสมองเสื่อม[9][10] อาจใช้กินหรือฉีด[2]

วิตามินซีโดยมากมีผลข้างเคียงน้อย[2] แต่ถ้ากินมากอาจทำให้ไม่สบายท้อง ปวดท้อง รบกวนการนอน และทำให้หน้าแดง[2][7] ขนาดปกติปลอดภัยเมื่อตั้งครรภ์[11] แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM[A]) แนะนำไม่ให้กินเป็นปริมาณมาก ๆ[3]

วิตามินซีค้นพบในปี 1912 แล้วแยกต่างหากในปี 1928 เป็นวิตามินชนิดแรกที่ผลิตโดยสังเคราะห์ทางเคมีในปี 1933[12] มันอยู่ในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก เพราะเป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีสุดและปลอดภัยซึ่งจำเป็นในระบบสาธารณสุข[13] เป็นยาสามัญที่ไม่แพงและซื้อได้เอง[2][14][15] ในปี 1937 นักเคมีชาวฮังการีอัลเบิร์ต เซนต์จอจี (Albert Szent-Györgyi) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ และนักเคมีชาวอังกฤษ (Norman Haworth) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีส่วนหนึ่งก็เพราะค้นพบวิตามินซี[16][17] อาหารที่มีรวมทั้งผลไม้สกุลส้ม กีวี บรอกโคลี กะหล่ำดาว พริกหยวก และสตรอว์เบอร์รี[5] การเก็บไว้หรือหุงต้มนาน ๆ อาจลดวิตามินซีในอาหาร[5]

กรดแอสคอร์บิกใช้เป็นสารปรุงแต่งอาหารอย่างกว้างขวางเพื่อป้องกันออกซิเดชัน

ชีววิทยา

ความสำคัญ

วิตามินซีเป็นสารอาหารจำเป็นสำหรับสัตว์บางอย่างรวมทั้งมนุษย์ คำว่า วิตามินซี รวมเอาสารประกอบทางเคมีที่ทั่วไปมีโครงสร้างคล้ายกันหลายชนิดที่เรียกว่า vitamer มีฤทธิ์วิตามินซีในร่างกายสัตว์ ซึ่งรวมกรดแอสคอร์บิกและเกลือของมัน เกลือแอสคอร์เบต ดังเช่น โซเดียมแอสคอร์เบต (sodium ascorbate) และแคลเซียมแอสคอร์เบต (calcium ascorbate) มักใช้ในอาหารเสริม ซึ่งสลายเป็นแอสคอร์เบตเมื่อย่อย ทั้งแอสคอร์เบตและกรดแอสคอร์บิกมีอยู่ตามธรรมชาติในร่างกาย เพราะทั้งสองแปลงรูปเป็นกันและกันได้แล้วแต่ความเป็นกรด (pH) ส่วนรูปแบบโมเลกุลที่ออกซิไดซ์ เช่น กรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก (DHA) สามารถเปลี่ยนกลับเป็นกรดแอสคอร์บิกด้วยตัวรีดิวซ์ (reducing agent)[3]

วิตามินซีเป็นโคแฟกเตอร์ในปฏิกิริยาอาศัยเอนไซม์ในสัตว์ (และมนุษย์) ซึ่งอำนวยกิจทางชีววิทยาที่จำเป็นหลายอย่างรวมทั้งการสมานแผล การป้องกันเลือดออกจาก[[หลอดเลือดฝอย] และการสังเคราะห์คอลลาเจน ในมนุษย์ การขาดวิตามินซีทำให้การสังเคราะห์คอลลาเจนบกพร่อง ซึ่งทำให้อาการโรคลักปิดลักเปิดหนักขึ้น[3] บทบาททางเคมีชีวภาพของวิตามินซีอีกอย่างก็คือเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (คือเป็นตัวรีดิวซ์) โดยจ่ายอิเล็กตรอนแก่ปฏิกิริยาเคมีทั้งที่อาศัยเอนไซม์และไม่อาศัยเอนไซม์หลายอย่าง[3] แล้วเปลี่ยนสภาพเป็นแบบออกซิไดซ์ โดยอาจเป็นกรดเซมิดีไฮโดรแอสคอร์บิก (semidehydroascorbic acid) หรือกรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก ซึ่งสามารถรีดีวซ์ให้กลับคืนสภาพเดิมด้วยกลไกอาศัยเอนไซม์โดยใช้กลูตาไธโอนและ NADPH เป็นเมแทบอไลต์[18][19][20]

ในพืช วิตามินซีเป็นซับสเตรตสำหรับแอสคอร์เบตเพอร์ออกซิเดส (ascorbate peroxidase) เอนไซม์นี้ใช้แอสคอร์เบตเพื่อสลายไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (H2O2) ที่เป็นพิษให้เป็นน้ำ (H2O)[4][21]

การขาด

โรคลักปิดลักเปิดมีเหตุจากการขาดวิตามินซี เพราะเมื่อไม่มีวิตามิน คอลลาเจนที่ร่างกายผลิตจะไม่เสถียรพอเพื่อใช้งาน[4] โรคทำให้มีจุดน้ำตาลบนผิวหนัง เหงือกยุ่ย และเลือดออกตามเยื่อเมือก จุดดังว่าเกิดมากสุดที่ขา คนไข้จะดูซีด ซึมเศร้า และอ่อนล้า ถ้าเป็นมาก แผลจะไม่ค่อยหาย ฟันร่วง จนถึงเสียชีวิตได้ ร่างกายมนุษย์สามารถเก็บสะสมวิตามินซีเป็นปริมาณจำกัดเท่านั้น[22] ดังนั้น ก็จะหมดไปถ้าไม่ได้เพิ่ม แต่การปรากฏอาการของผู้ใหญ่ที่ไม่ขาดวิตามินแล้วทานอาหารที่ไม่มีวิตามินซีเลย อาจกินเวลาตั้งแต่เดือนหนึ่งจนถึงมากกว่า 6 เดือนขึ้นอยู่กับปริมาณวิตามินซีสะสมก่อนหน้านี้[23][24]

มีงานศึกษาเด่นที่ทดลองก่อโรคในผู้ปฏิเสธไม่ยอมเป็นทหารโดยอ้างมโนธรรมในประเทศอังกฤษช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และในนักโทษรัฐไอโอวา (สหรัฐ) ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 จนถึง 1980 งานศึกษาทั้งสองพบว่า อาการโรคลักปิดลักเปิดต่าง ๆ ที่ปรากฏเพราะทานอาหารที่มีวิตามินซีน้อยมากสามารถแก้ได้ทั้งหมดโดยเสริมวิตามินซีเพียงแค่ 10 มก./วัน ในงานทดลองเหล่านี้ ไม่มีความแตกต่างทางคลินิกระหว่างชายที่ได้วิตามิน 70 มก./วัน (ซึ่งทำให้มีความเข้มข้นวิตามินในเลือด 0.55 มก./ดล. อันเป็น 1/3 ของระดับอิ่มตัวในเนื้อเยื่อโดยประมาณ) กับชายที่ได้ 10 มก./วัน นักโทษในงานศึกษาเกิดอาการโรคประมาณ 4 สัปดาห์หลังเริ่มทานอาหารปลอดวิตามินซี เทียบกับงานศึกษาในอังกฤษที่ต้องใช้เวลา 6-8 เดือนโดยน่าจะเป็นเพราะการเร่งให้ทานอาหารเสริมขนาด 70 มก./วันเป็นเวลา 6 สัปดาห์ก่อนให้ทานอาหารขาดวิตามิน[23][24]

ชายในงานทั้งสองที่ทานอาหารเกือบไร้วิตามิน มีวิตามินซีในเลือดต่ำกว่าที่จะวัดได้อย่างแม่นยำเมื่อเริ่มเกิดอาการโรค ในนักโทษรัฐไอโอวา ได้ประเมิน (โดยวิธี labeled vitamin C dilution) ในช่วงนี้ว่า มีปริมาณสะสมในร่างกายน้อยกว่า 300 มก. โดยใช้วันละเพียงแค่ 2.5 มก. เพราะทั้งหมดจะหมดไปเมื่อถึง 4 เดือน จึงแสดงนัยว่ามีครึ่งชีวิตที่ 83 วัน[23]

การใช้

อาหารเสริมวิตามินซีที่ขายในร้านขายยา

วิตามินซีมีบทบาทที่ชัดเจนในการรักษาโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเกิดเพราะขาดวิตามินซี นอกเหนือจากนั้น บทบาทของมันในการป้องกันหรือรักษาโรคต่าง ๆ เป็นเรื่องโต้แย้งไม่มีที่สิ้นสุด โดยงานทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ ก็รายงานผลที่ขัดแยังกัน งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 รายงานว่า การเสริมอาหารด้วยวิตามินซีไม่มีผลต่ออัตราตายโดยทั้งหมด (overall mortality)[25] วิตามินอยู่ในรายกายยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยาที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยที่สุดอันจำเป็นในระบบสาธารณสุข[13]

โรคลักปิดลักเปิด

โรคลักปิดลักเปิดเกิดจากการขาดวิตามินซี สามารถป้องกันและรักษาได้ด้วยอาหารที่มีวิตามินซีหรือด้วยอาหารเสริม[2]</ref>[3] โรคใช้เวลาอย่างน้อย 1 เดือนก่อนจะเกิดอาการเมื่อทานอาหารที่ไม่มีหรือมีวิตามินซีน้อย[23] อาการเบื้องต้นรวมทั้งความละเหี่ยไม่สบายและภาวะง่วงงุน โดยแย่ลงเป็นหายใจไม่เต็มปอด ปวดกระดูก เหงือกเลือดออก ฟกช้ำง่าย แผลหายยาก และในที่สุดเป็นไข้ ชัก และสุดท้าย เสียชีวิต[2] โรคกลับคืนดีได้จนถึงระยะสุดท้าย ๆ เพราะร่างกายจะผลิตคอลลาเจนแทนที่ที่ไม่ดีเพราะขาดวิตามิน ยาสามารถใช้กิน ฉีดในกล้ามเนื้อ หรือให้ทางเส้นเลือด[2]

โรคนี้รู้จักกันตั้งแต่สมัยฮิปพอคราทีสช่วงกรีกโบราณแล้ว ในปี 1747 ศัลยแพทย์ของราชนาวีอังกฤษ คือ เจมส์ ลินด์ ได้ทำงานทดลองมีกลุ่มควบคุมงานต้น ๆ ที่แสดงว่า ผลไม้สกุลส้มป้องกันโรคนี้ได้ และเริ่มจากปี 1796 ราชนาวีอังกฤษก็แจกน้ำเลมอนแก่กะลาสีทุกคน[26]ref name="Baron2009"> Baron, JH (June 2009). "Sailors' scurvy before and after James Lind--a reassessment" (PDF). Nutrition Reviews. 67 (6): 315–32. doi:10.1111/j.1753-4887.2009.00205.x. PMID 19519673.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)</ref>

การติดเชื้อ

ผู้รับรางวัลโนเบลชาวอเมริกันไลนัส พอลิง สนับสนุนให้กินวิตามินซีเพื่อโรคหวัดธรรมดาในหนังสือปี 1970

ผลของวิตามินซีต่อโรคหวัดธรรมดาได้ทำการวิจัยอย่างกว้างขวาง งานทดลองทางคลินิกมีกลุ่มควบคุมงานแรกสุดดูเหมือนจะทำในปี 1945[27] ต่อจากนั้น ก็มีงานวิจัยต่อ ๆ มา แต่ความสนใจทั้งทางวิชาการและจากสาธารณชนได้เพิ่มขึ้นเมื่อไลนัส พอลิง ผู้ได้รับทั้งรางวัลโนเบลสาขาเคมี (1954) และรางวัลโนเบลสันติภาพ (1962) ได้เริ่มตีพิมพ์ผลงานวิจัยในเรื่องนี้ และเขียนหนังสือ "Vitamin C and the Common Cold" (วิตามินซีกับโรคหวัดธรรมดา) ในปี 1970[28] ต่อมาจึงเขียนหนังสือที่อัปเดตและขยายความอีกเล่มคือ "Vitamin C, the Common Cold and the Flu" (วิตามินซี โรคหวัดธรรมดา และไข้หวัดใหญ่) ในปี 1976[29]

งานวิจัยเรื่องวิตามินซีกับไข้หวัดธรรมดาแบ่งออกเป็นผลในการป้องกัน ผลต่อระยะเวลาที่เป็น และผลต่อความรุนแรงของโรค งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2013 ซึ่งตรวจดูงานวิจัยต่าง ๆ ที่ทดลองใช้วิตามินอย่างน้อย 200 มก./วัน สรุปว่า วิตามินซีที่กินเป็นประจำไม่มีประสิทธิภาพป้องกันไข้หวัดธรรมดา แม้กิน 1,000 มก./วัน ก็ไม่ได้ผล แต่การกินวิตามินซีเป็นประจำลดระยะการเป็นหวัด 8% ในผู้ใหญ่ และ 14% ในเด็ก โดยลดความรุนแรงของไข้ด้วย[8] ข้อมูลงานทดลองเซ็ตย่อยระบุว่า ช่วยลดอุบัติการณ์ของไข้หวัดธรรมดาครึ่งหนึ่งในนักวิ่งมาราธอน ในผู้เล่นสกี และในทหารที่ทำการในที่หนาวมาก (subarctic)[8] ข้อมูลงานทดลองเซ็ตย่อยอีกเซ็นหนึ่งตรวจดูการใช้รักษา คือจะไม่เริ่มกินวิตามินซีจนกระทั่งรู้สึกเป็นไข้ วิตามินซีไม่มีผลต่อระยะเวลาหรือความรุนแรงของโรค[8] เทียบกับงานทบทวนปี 2009 ที่สรุปว่า วิตามินซีไม่ป้องกันโรคหวัด ลดระยะเวลาที่เป็น แต่ไม่ลดความรุนแรง[30] นักวิจัยของงานปี 2013 สรุปว่า "...เพราะวิตามินซีมีผลที่สม่ำเสมอต่อระยะเวลาและความรุนแรงของไข้หวัดในงานศึกษาที่ให้กินเป็นอาหารเสริมเป็นประจำ เพราะราคาถูกและปลอดภัย มันอาจคุ้มค่าสำหรับคนไข้โรคหวัดธรรมดาเพื่อทดลองเป็นส่วนบุคคลว่า การใช้วิตามินซีรักษามีประโยชน์กับตนหรือไม่"[8]

วิตามินซีกระจายเข้าไปในเซลล์ภูมิคุ้มกันในระดับความเข้มข้นสูงอย่างง่าย ๆ มีฤทธิ์ต้านจุลชีพ ช่วยงานเซลล์ภูมิคุ้มกัน (คือ natural killer cell หรือ NK cell ซึ่งเป็นลิมโฟไซต์ชนิดหนึ่ง) ช่วยเพิ่มจำนวนลิมโฟไซต์ และใช้หมดเร็วมากเมื่อติดเชื้อ ซึ่งแสดงว่ามีบทบาทสำคัญในการควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน[31] สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป (EFSA) พบว่า มีความสัมพันธ์โดยเป็นเหตุผลระหว่างการกินวิตามินซีในอาหาร กับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันที่ปกติในผู้ใหญ่และเด็กอายุน้อยกว่า 3 ขวบ[32][33]

มะเร็ง

มีแนวทางการศึกษาสองอย่างว่า วิตามินซีมีผลต่อมะเร็งหรือไม่ อย่างแรกคือ ถ้าได้จากอาหารในพิสัยปกติโดยไม่ทานอาหารเสริมเพิ่ม ผู้ที่กินวิตามินซีมากกว่าเสี่ยงเกิดมะเร็งน้อยกว่าหรือไม่ ถ้ามีน้อยกว่า การกินเป็นอาหารเสริมมีประโยชน์เหมือนกันหรือไม่ อย่างที่สองคือ สำหรับคนไข้ที่ได้วินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง การให้กรดแอสคอร์บิกปริมาณมากทางเส้นเลือดเพื่อรักษามะเร็งช่วยลดผลไม่พึงประสงค์ของการรักษาวิธีอื่น ๆ และดังนั้น จึงช่วยให้รอดชีวิตได้นานขึ้นหรือเพิ่มคุณภาพชีวิตหรือไม่ งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2013 ไม่พบหลักฐานว่าการกินเป็นอาหารเสริมลดความเสี่ยงมะเร็งปอดสำหรับคนสุขภาพดีหรือคนเสี่ยงสูงเพราะสูบยา (มีบุหรี่เป็นต้น) หรือเพราะได้รับแร่ใยหิน[34]

งานวิเคราะห์อภิมานที่สองปี 2011 ไม่พบผลต่อความเสี่ยงมะเร็งต่อมลูกหมาก[35] มีงานวิเคราะห์อภิมานสองงาน (2011, 2013) ที่ประเมินผลของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมต่อความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ งานหนึ่งพบความสัมพันธ์อย่างอ่อน ๆ ระหว่างการกินวิตามินซีกับความเสี่ยงที่ลดลง อีกงานหนึ่งไม่พบ[36][37]

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2011 อีกงานหนึ่งไม่พบหลักฐานว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมช่วยป้องกันมะเร็งเต้านม[38] แต่งานปี 2014 สรุปว่า วิตามินซีสัมพันธ์กับการรอดชีวิตได้นานขึ้นสำหรับคนไข้ที่วินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านม[39]

"การให้วิตามินซีทางเส้นเลือดเป็นการรักษามะเร็งแบบประกอบที่มีข้อโต้แย้งอย่างหนึ่ง ซึ่งใช้อย่างกว้างขวางในการรักษาเนื้องอกและมะเร็งแบบธรรมชาติ (naturopathic oncology) และแบบบูรณาการ (integrative oncology)" โดยเป็นส่วนของการแพทย์ทางเลือก (เช่น orthomolecular medicine เป็นต้น)[40] ถ้าใช้กิน ประสิทธิภาพการดูดซึมจะลดลงเมื่อปริมาณสูงขึ้น แต่การให้ทางเส้นเลือดไม่มีปัญหานี้[41] ทำให้สามารถได้ความเข้มข้นในเลือดถึง 5-10 mmol/L ซึ่งมากกว่าที่ได้ทางปากคือ 0.2 mmol/L อย่างมาก[42] ทฤษฏีต่าง ๆ ที่เสนอกลไกการทำงานขัดแย้งกันเอง ความเข้มข้นของกรดแอสคอร์บิกในเนื้อเยื่อสูงจัดว่า มีฤทธิ์เป็น pro-oxidant คือก่อไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (H2O2) ที่ฆ่าเซลล์เนื้องอก pro-oxidant เป็นสารเคมีที่ก่อ oxidative stress โดยก่อกลุ่มออกซิเจนที่ไวปฏิกิริยา (reactive oxygen species) หรือยับยั้งระบบต้านอนุมูลอิสระ[43] oxidative stress ที่เกิดสามารถทำลายเซลล์และเนื้อเยื่อ แต่เอกสารเดียวกันก็อ้างด้วยว่า กรดแอสคอร์บิกมีฤทธิ์เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ดังนั้นจึงลดผลที่ไม่พึงประสงค์ของเคมีบำบัดและการฉายแสง[40][41]

แม้งานวิจัยก็ยังดำเนินต่อไปในเรื่องเหล่านี้ แต่งานทบทวนปี 2014 ได้สรุปว่า "ในปัจจุบัน การให้วิตามินซีทางเส้นเลือดในปริมาณมาก [โดยเป็นยาต้านมะเร็ง] ไม่อาจแนะนำให้ใช้นอกการทดลองทางคลินิกได้"[44] งานทบทวนปี 2015 ได้เสริมว่า "ไม่มีหลักฐานคุณภาพดีที่แสดงนัยว่า การให้แอสคอร์เบตเป็นอาหารเสริมในคนไข้มะเร็งเพิ่มผลต้านมะเร็งของเคมีบำบัดหรือลดความเป็นพิษของมัน หลักฐานเกี่ยวกับผลต้านเนื้องอกของแอสคอร์เบตจำกัดอยู่กับรายงานผู้ป่วย งานศึกษาแบบสังเกต และงานศึกษาที่ไม่มีกลุ่มควบคุม"[45]

โรคระบบหัวใจหลอดเลือด

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2013 ไม่พบหลักฐานว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมลดกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด ลดโรคหลอดเลือดสมอง ลดอัตราตายเหตุโรคระบบหัวใจหลอดเลือด และลดอัตราตายเหตุทุกอย่าง[9] แต่งานปีเดียวกันอีกงานพบความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินซีในเลือดหรือระดับการได้วิตามินซีในอาหาร กับความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่ลดลง[46]

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2014 ที่ตรวจงานทดลองทางคลินิก 44 งานแสดงผลดีของวิตามินซีต่อการทำงานของเอนโดทีเลียม/เนื้อเยื่อบุโพรง เมื่อกินมากกว่า 500 มก./วัน เนื้อเยื่อบุโพรงเป็นชั้นเซลล์ที่บุผิวภายในของหลอดเลือด การทำหน้าที่ผิดปรกติของเนื้อเยื่อบุโพรง (endothelial dysfunction) ยกว่า เป็นเหตุของโรคหลอดเลือดในด้านต่าง ๆ นักวิจัยของงานตั้งข้อสังเกตว่า ผลของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมดูเหมือนจะขึ้นอยู่กับสุขภาพ คือมีผลดีกว่าสำหรับผู้ที่เสี่ยงโรคระบบหัวใจหลอดเลือดมากกว่า[47]

การทำงานของสมอง

งานทบทวนเป็นระบบปี 2017 พบความเข้มข้นวิตามินซีที่ต่ำกว่าในบุคคลที่พิการทางประชาน รวมทั้งคนไข้โรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อม เมื่อเทียบกับคนปกติ[48] แต่วิธีตรวจการทำงานทางประชานที่ใช้ คือ Mini-Mental State Examination เป็นเพียงการตรวจการทำงานแบบทั่ว ๆ ไป ซึ่งชี้ว่าคุณภาพของงานวิจัยทั่ว ๆ ไปที่ประเมินความสำคัญของวิตามินซีต่อการทำงานทางประชานของคนปกติและคนพิการนั้นไม่ดี[48] งานวิจัยปี 2014 ที่ตรวจสอบสารอาหารในคนไข้โรคอัลไซเมอร์รายงานว่า ในเลือด คนไข้มีวิตามินซี มีกรดโฟลิก (วิตามินบี9) วิตามินบี12 และวิตามินอีทั้งหมดน้อย[49]

โรคอื่น ๆ

งานศึกษาที่ตรวจผลของการได้วิตามินซีต่อความเสี่ยงโรคอัลไซเมอร์ได้ข้อสรุปต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกัน[50][51] การทานอาหารให้ถูกสุขภาพน่าจะสำคัญกว่าการทานอาหารเสริมเพื่อให้ได้ประโยชน์ที่อาจเป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ[52] งานทบทวนปี 2010 ไม่พบประโยชน์ของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมเพื่อรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์[53] งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 พบว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมไม่ช่วยป้องกันหรือชะลอต้อกระจกที่เป็นไปตามวัย[54]

การใช้

อาหารเสริมวิตามินซีที่ขายในร้านขายยา

วิตามินซีมีบทบาทที่ชัดเจนในการรักษาโรคลักปิดลักเปิด ซึ่งเกิดเพราะขาดวิตามินซี นอกเหนือจากนั้น บทบาทของมันในการป้องกันหรือรักษาโรคต่าง ๆ เป็นเรื่องโต้แย้งไม่มีที่สิ้นสุด โดยงานทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ ก็รายงานผลที่ขัดแยังกัน งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 รายงานว่า การเสริมอาหารด้วยวิตามินซีไม่มีผลต่ออัตราตายโดยทั้งหมด (overall mortality)[55] วิตามินอยู่ในรายกายยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยาที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยที่สุดอันจำเป็นในระบบสาธารณสุข[13]

โรคลักปิดลักเปิด

โรคลักปิดลักเปิดเกิดจากการขาดวิตามินซี สามารถป้องกันและรักษาได้ด้วยอาหารที่มีวิตามินซีหรือด้วยอาหารเสริม[2]</ref>[3] โรคใช้เวลาอย่างน้อย 1 เดือนก่อนจะเกิดอาการเมื่อทานอาหารที่ไม่มีหรือมีวิตามินซีน้อย[23] อาการเบื้องต้นรวมทั้งความละเหี่ยไม่สบายและภาวะง่วงงุน โดยแย่ลงเป็นหายใจไม่เต็มปอด ปวดกระดูก เหงือกเลือดออก ฟกช้ำง่าย แผลหายยาก และในที่สุดเป็นไข้ ชัก และสุดท้าย เสียชีวิต[2] โรคกลับคืนดีได้จนถึงระยะสุดท้าย ๆ เพราะร่างกายจะผลิตคอลลาเจนแทนที่ที่ไม่ดีเพราะขาดวิตามิน ยาสามารถใช้กิน ฉีดในกล้ามเนื้อ หรือให้ทางเส้นเลือด[2]

โรคนี้รู้จักกันตั้งแต่สมัยฮิปพอคราทีสช่วงกรีกโบราณแล้ว ในปี 1747 ศัลยแพทย์ของราชนาวีอังกฤษ คือ เจมส์ ลินด์ ได้ทำงานทดลองมีกลุ่มควบคุมงานต้น ๆ ที่แสดงว่า ผลไม้สกุลส้มป้องกันโรคนี้ได้ และเริ่มจากปี 1796 ราชนาวีอังกฤษก็แจกน้ำเลมอนแก่กะลาสีทุกคน[26]ref name="Baron2009"> Baron, JH (June 2009). "Sailors' scurvy before and after James Lind--a reassessment" (PDF). Nutrition Reviews. 67 (6): 315–32. doi:10.1111/j.1753-4887.2009.00205.x. PMID 19519673.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)</ref>

การติดเชื้อ

ผู้รับรางวัลโนเบลชาวอเมริกันไลนัส พอลิง สนับสนุนให้กินวิตามินซีเพื่อโรคหวัดธรรมดาในหนังสือปี 1970

ผลของวิตามินซีต่อโรคหวัดธรรมดาได้ทำการวิจัยอย่างกว้างขวาง งานทดลองทางคลินิกมีกลุ่มควบคุมงานแรกสุดดูเหมือนจะทำในปี 1945[56] ต่อจากนั้น ก็มีงานวิจัยต่อ ๆ มา แต่ความสนใจทั้งทางวิชาการและจากสาธารณชนได้เพิ่มขึ้นเมื่อไลนัส พอลิง ผู้ได้รับทั้งรางวัลโนเบลสาขาเคมี (1954) และรางวัลโนเบลสันติภาพ (1962) ได้เริ่มตีพิมพ์ผลงานวิจัยในเรื่องนี้ และเขียนหนังสือ "Vitamin C and the Common Cold" (วิตามินซีกับโรคหวัดธรรมดา) ในปี 1970[28] ต่อมาจึงเขียนหนังสือที่อัปเดตและขยายความอีกเล่มคือ "Vitamin C, the Common Cold and the Flu" (วิตามินซี โรคหวัดธรรมดา และไข้หวัดใหญ่) ในปี 1976[29]

งานวิจัยเรื่องวิตามินซีกับไข้หวัดธรรมดาแบ่งออกเป็นผลในการป้องกัน ผลต่อระยะเวลาที่เป็น และผลต่อความรุนแรงของโรค งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2013 ซึ่งตรวจดูงานวิจัยต่าง ๆ ที่ทดลองใช้วิตามินอย่างน้อย 200 มก./วัน สรุปว่า วิตามินซีที่กินเป็นประจำไม่มีประสิทธิภาพป้องกันไข้หวัดธรรมดา แม้กิน 1,000 มก./วัน ก็ไม่ได้ผล แต่การกินวิตามินซีเป็นประจำลดระยะการเป็นหวัด 8% ในผู้ใหญ่ และ 14% ในเด็ก โดยลดความรุนแรงของไข้ด้วย[8] ข้อมูลงานทดลองเซ็ตย่อยระบุว่า ช่วยลดอุบัติการณ์ของไข้หวัดธรรมดาครึ่งหนึ่งในนักวิ่งมาราธอน ในผู้เล่นสกี และในทหารที่ทำการในที่หนาวมาก (subarctic)[8] ข้อมูลงานทดลองเซ็ตย่อยอีกเซ็นหนึ่งตรวจดูการใช้รักษา คือจะไม่เริ่มกินวิตามินซีจนกระทั่งรู้สึกเป็นไข้ วิตามินซีไม่มีผลต่อระยะเวลาหรือความรุนแรงของโรค[8] เทียบกับงานทบทวนปี 2009 ที่สรุปว่า วิตามินซีไม่ป้องกันโรคหวัด ลดระยะเวลาที่เป็น แต่ไม่ลดความรุนแรง[30] นักวิจัยของงานปี 2013 สรุปว่า "...เพราะวิตามินซีมีผลที่สม่ำเสมอต่อระยะเวลาและความรุนแรงของไข้หวัดในงานศึกษาที่ให้กินเป็นอาหารเสริมเป็นประจำ เพราะราคาถูกและปลอดภัย มันอาจคุ้มค่าสำหรับคนไข้โรคหวัดธรรมดาเพื่อทดลองเป็นส่วนบุคคลว่า การใช้วิตามินซีรักษามีประโยชน์กับตนหรือไม่"[8]

วิตามินซีกระจายเข้าไปในเซลล์ภูมิคุ้มกันในระดับความเข้มข้นสูงอย่างง่าย ๆ มีฤทธิ์ต้านจุลชีพ ช่วยงานเซลล์ภูมิคุ้มกัน (คือ natural killer cell หรือ NK cell ซึ่งเป็นลิมโฟไซต์ชนิดหนึ่ง) ช่วยเพิ่มจำนวนลิมโฟไซต์ และใช้หมดเร็วมากเมื่อติดเชื้อ ซึ่งแสดงว่ามีบทบาทสำคัญในการควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน[57] สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป (EFSA) พบว่า มีความสัมพันธ์โดยเป็นเหตุผลระหว่างการกินวิตามินซีในอาหาร กับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันที่ปกติในผู้ใหญ่และเด็กอายุน้อยกว่า 3 ขวบ[32][33]

มะเร็ง

มีแนวทางการศึกษาสองอย่างว่า วิตามินซีมีผลต่อมะเร็งหรือไม่ อย่างแรกคือ ถ้าได้จากอาหารในพิสัยปกติโดยไม่ทานอาหารเสริมเพิ่ม ผู้ที่กินวิตามินซีมากกว่าเสี่ยงเกิดมะเร็งน้อยกว่าหรือไม่ ถ้ามีน้อยกว่า การกินเป็นอาหารเสริมมีประโยชน์เหมือนกันหรือไม่ อย่างที่สองคือ สำหรับคนไข้ที่ได้วินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง การให้กรดแอสคอร์บิกปริมาณมากทางเส้นเลือดเพื่อรักษามะเร็งช่วยลดผลไม่พึงประสงค์ของการรักษาวิธีอื่น ๆ และดังนั้น จึงช่วยให้รอดชีวิตได้นานขึ้นหรือเพิ่มคุณภาพชีวิตหรือไม่ งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2013 ไม่พบหลักฐานว่าการกินเป็นอาหารเสริมลดความเสี่ยงมะเร็งปอดสำหรับคนสุขภาพดีหรือคนเสี่ยงสูงเพราะสูบยา (มีบุหรี่เป็นต้น) หรือเพราะได้รับแร่ใยหิน[34]

งานวิเคราะห์อภิมานที่สองปี 2011 ไม่พบผลต่อความเสี่ยงมะเร็งต่อมลูกหมาก[35] มีงานวิเคราะห์อภิมานสองงาน (2011, 2013) ที่ประเมินผลของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมต่อความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ งานหนึ่งพบความสัมพันธ์อย่างอ่อน ๆ ระหว่างการกินวิตามินซีกับความเสี่ยงที่ลดลง อีกงานหนึ่งไม่พบ[58][59]

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2011 อีกงานหนึ่งไม่พบหลักฐานว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมช่วยป้องกันมะเร็งเต้านม[60] แต่งานปี 2014 สรุปว่า วิตามินซีสัมพันธ์กับการรอดชีวิตได้นานขึ้นสำหรับคนไข้ที่วินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านม[61]

"การให้วิตามินซีทางเส้นเลือดเป็นการรักษามะเร็งแบบประกอบที่มีข้อโต้แย้งอย่างหนึ่ง ซึ่งใช้อย่างกว้างขวางในการรักษาเนื้องอกและมะเร็งแบบธรรมชาติ (naturopathic oncology) และแบบบูรณาการ (integrative oncology)" โดยเป็นส่วนของการแพทย์ทางเลือก (เช่น orthomolecular medicine เป็นต้น)[40] ถ้าใช้กิน ประสิทธิภาพการดูดซึมจะลดลงเมื่อปริมาณสูงขึ้น แต่การให้ทางเส้นเลือดไม่มีปัญหานี้[41] ทำให้สามารถได้ความเข้มข้นในเลือดถึง 5-10 mmol/L ซึ่งมากกว่าที่ได้ทางปากคือ 0.2 mmol/L อย่างมาก[62] ทฤษฏีต่าง ๆ ที่เสนอกลไกการทำงานขัดแย้งกันเอง ความเข้มข้นของกรดแอสคอร์บิกในเนื้อเยื่อสูงจัดว่า มีฤทธิ์เป็น pro-oxidant คือก่อไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (H2O2) ที่ฆ่าเซลล์เนื้องอก pro-oxidant เป็นสารเคมีที่ก่อ oxidative stress โดยก่อกลุ่มออกซิเจนที่ไวปฏิกิริยา (reactive oxygen species) หรือยับยั้งระบบต้านอนุมูลอิสระ[63] oxidative stress ที่เกิดสามารถทำลายเซลล์และเนื้อเยื่อ แต่เอกสารเดียวกันก็อ้างด้วยว่า กรดแอสคอร์บิกมีฤทธิ์เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ดังนั้นจึงลดผลที่ไม่พึงประสงค์ของเคมีบำบัดและการฉายแสง[40][41]

แม้งานวิจัยก็ยังดำเนินต่อไปในเรื่องเหล่านี้ แต่งานทบทวนปี 2014 ได้สรุปว่า "ในปัจจุบัน การให้วิตามินซีทางเส้นเลือดในปริมาณมาก [โดยเป็นยาต้านมะเร็ง] ไม่อาจแนะนำให้ใช้นอกการทดลองทางคลินิกได้"[44] งานทบทวนปี 2015 ได้เสริมว่า "ไม่มีหลักฐานคุณภาพดีที่แสดงนัยว่า การให้แอสคอร์เบตเป็นอาหารเสริมในคนไข้มะเร็งเพิ่มผลต้านมะเร็งของเคมีบำบัดหรือลดความเป็นพิษของมัน หลักฐานเกี่ยวกับผลต้านเนื้องอกของแอสคอร์เบตจำกัดอยู่กับรายงานผู้ป่วย งานศึกษาแบบสังเกต และงานศึกษาที่ไม่มีกลุ่มควบคุม"[45]

โรคระบบหัวใจหลอดเลือด

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2013 ไม่พบหลักฐานว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมลดกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด ลดโรคหลอดเลือดสมอง ลดอัตราตายเหตุโรคระบบหัวใจหลอดเลือด และลดอัตราตายเหตุทุกอย่าง[9] แต่งานปีเดียวกันอีกงานพบความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินซีในเลือดหรือระดับการได้วิตามินซีในอาหาร กับความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่ลดลง[64]

งานวิเคราะห์อภิมานปี 2014 ที่ตรวจงานทดลองทางคลินิก 44 งานแสดงผลดีของวิตามินซีต่อการทำงานของเอนโดทีเลียม/เนื้อเยื่อบุโพรง เมื่อกินมากกว่า 500 มก./วัน เนื้อเยื่อบุโพรงเป็นชั้นเซลล์ที่บุผิวภายในของหลอดเลือด การทำหน้าที่ผิดปรกติของเนื้อเยื่อบุโพรง (endothelial dysfunction) ยกว่า เป็นเหตุของโรคหลอดเลือดในด้านต่าง ๆ นักวิจัยของงานตั้งข้อสังเกตว่า ผลของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมดูเหมือนจะขึ้นอยู่กับสุขภาพ คือมีผลดีกว่าสำหรับผู้ที่เสี่ยงโรคระบบหัวใจหลอดเลือดมากกว่า[65]

การทำงานของสมอง

งานทบทวนเป็นระบบปี 2017 พบความเข้มข้นวิตามินซีที่ต่ำกว่าในบุคคลที่พิการทางประชาน รวมทั้งคนไข้โรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อม เมื่อเทียบกับคนปกติ[48] แต่วิธีตรวจการทำงานทางประชานที่ใช้ คือ Mini-Mental State Examination เป็นเพียงการตรวจการทำงานแบบทั่ว ๆ ไป ซึ่งชี้ว่าคุณภาพของงานวิจัยทั่ว ๆ ไปที่ประเมินความสำคัญของวิตามินซีต่อการทำงานทางประชานของคนปกติและคนพิการนั้นไม่ดี[48] งานวิจัยปี 2014 ที่ตรวจสอบสารอาหารในคนไข้โรคอัลไซเมอร์รายงานว่า ในเลือด คนไข้มีวิตามินซี มีกรดโฟลิก (วิตามินบี9) วิตามินบี12 และวิตามินอีทั้งหมดน้อย[66]

โรคอื่น ๆ

งานศึกษาที่ตรวจผลของการได้วิตามินซีต่อความเสี่ยงโรคอัลไซเมอร์ได้ข้อสรุปต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกัน[67][68] การทานอาหารให้ถูกสุขภาพน่าจะสำคัญกว่าการทานอาหารเสริมเพื่อให้ได้ประโยชน์ที่อาจเป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ[69] งานทบทวนปี 2010 ไม่พบประโยชน์ของการกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมเพื่อรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์[70] งานทบทวนแบบคอเคลนปี 2012 พบว่า การกินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมไม่ช่วยป้องกันหรือชะลอต้อกระจกที่เป็นไปตามวัย[71]

ผลข้างเคียง

วิตามินซีละลายน้ำได้[22] ถ้ากินเกินกว่าที่ร่างกายดูดซึมได้ ก็จะขับออกทางปัสสาวะ จึงไม่ค่อยเป็นพิษโดยฉับพลัน[4] วิตามินซีมีความเป็นพิษต่ำมาก[B] แต่การกินเกินกว่า 2-3 ก./วันอาจทำให้ย่อยอาหารได้ไม่ดี โดยเฉพาะถ้ากินเมื่อท้องว่าง การกินวิตามินซีในรูปแบบเกลือคือโซเดียมแอสคอร์เบตและแคลเซียมแอสคอร์เบตอาจลดปัญหานี้[29] อาการอื่น ๆ ที่เกิดเมื่อกินมากรวมทั้งคลื่นไส้ ปวดท้อง และท้องร่วง ซึ่งยกว่าเป็นผลทางออสโมซิสของวิตามินซีที่ดูดซึมไม่ได้เมื่อผ่านทางเดินอาหาร[3] โดยทฤษฎี การกินวิตามินซีมากอาจเป็นเหตุให้ดูดซึมธาตุเหล็กเกิน ข้อสรุปงานทบทวนในผู้มีสุขภาพปกติไม่แสดงว่ามีปัญหานี้ แต่ไม่ได้ตรวจว่าความเป็นไปได้ว่า บุคคลที่มีภาวะเหล็กเกินที่สืบทางพันธุกรรมอาจเกิดปัญหาเช่นนี้ได้[3] แม้มีความเชื่อมานานในวงการแพทย์ว่าวิตามินซีเพิ่มความเสี่ยงโรคนิ่วไต[73] แต่ "รายงานว่าเกิดโรคนิ่วไตซึ่งสัมพันธ์กับการได้กรดแอสคอร์บิกมากเกินจำกัดอยู่กับบุคคลที่เป็นโรคไต"[3] โดยงานทบทวนต่าง ๆ ได้แสดงว่า "ข้อมูลจากงานศึกษาทางวิทยาการระบาดไม่สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างการได้กรดแอสคอร์บิกมากเกินกับการเกิดนิ่วไตในบุคคลที่ปรากฏว่าสุขภาพดี"[3][74] แม้จะมีงานทดลองขนาดใหญ่ ทำอยู่หลายปี ที่รายงานอัตรากาเกิดนิ่วไตเพิ่มขึ้นถึงสองเท่าสำหรับชายที่กินวิตามินซีเป็นอาหารเสริมประจำ[75]

อาหาร

ระดับแนะนำ

ระดับแนะนำ (มก./วัน) ของแพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM[A])[3]
RDA (เด็ก 1-3 ขวบ) 15
RDA (เด็ก 4-8 ขวบ) 25
RDA (เด็ก 9-13 ปี) 45
RDA (ผู้หญิง 14-18 ปี) 65
RDA (ผู้ชาย 14-18 ปี) 75
RDA (ผู้ใหญ่หญิง) 75
RDA (ผู้ใหญ่ชาย) 90
RDA (หญิงตั้งครรภ์) 85
RDA (หญิงให้นม) 120
สูงสุด (ผู้ใหญ่หญิง) 2,000
สูงสุด (ผู้ใหญ่ชาย) 2,000

ทั่วโลก องค์กรแห่งชาติต่าง ๆ ได้ตั้งระดับที่แนะนำให้ได้วิตามินซีแต่ละวัน

  • 40 มก./วัน (อินเดีย - สถาบันโภชนศาสตร์แห่งชาติ เมืองไฮเดอราบาด)[76]
  • 45 มก./วัน หรือ 300 มก./สัปดาห์ (องค์การอนามัยโลก)[77]
  • 80 มก./วัน (สภาคณะกรรมาธิการยุโรปในเรื่องป้ายอาหาร)[78]
  • 90 มก./วัน (ชาย) และ 75 มก./วัน (หญิง) (กระทรวงสาธารณสุขแคนาดา[C] 2007)[79]
  • 90 มก./วัน (ชาย) และ 75 มก./วัน (หญิง) (แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ [NAS[A]][3]
  • 100 มก./วัน (สถาบันสุขภาพและโภชนาการแห่งชาติญี่ปุ่น[D])[80]
  • 110 มก./วัน (ชาย) และ 95 มก./วัน (หญิง) (สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป [EFSA])[81]

ในปี 2000 แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM[A]) ได้เปลี่ยนระดับอาหารที่แนะนำ (Recommended Dietary Allowance ตัวย่อ RDA) เป็น 90 มก./วัน สำหรับชายผู้ใหญ่ และ 75 มก./วัน สำหรับหญิงผู้ใหญ่ และตั้งระดับสูงสุด (Tolerable upper intake level ตัวย่อ UL) สำหรับผู้ใหญ่ที่ 2,000 มก./วัน[3] ตารางยังแสดง RDA สำหรับสหรัฐและแคนาดาสำหรับเด็ก หญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมลูกอีกด้วย[3] สำหรับสหภาพยุโรป สำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป (EFSA) ตั้งระดับแนะนำที่สูงกว่าสำหรับผู้ใหญ่รวมทั้งเด็ก คือ 20 มก./วันสำหรับเด็ก 1-3 ขวบ, 30 มก./วันสำหรับเด็ก 4-6 ขวบ, 45 มก./วันสำหรับเด็ก 7-10 ขวบ, 70 มก./วันสำหรับเด็ก 11-14 ปี, 100 มก./วันสำหรับชาย 15-17 ปี, 90 มก./วันสำหรับหญิง 15-17 ปี, 100 มก./วันสำหรับหญิงตั้งครรภ์ 155 มก./วันสำหรับหญิงให้นมลูก[81] แต่อินเดียตั้งระดับที่ต่ำกว่ามาก คือ 40 มก./วันสำหรับเด็กตั้งแต่ 1 ขวบจนถึงผู้ใหญ่, 60 มก./วันสำหรับหญิงตั้งครรภ์ และ 80 มก./วันสำหรับหญิงให้นมลูก[76] จึงชัดเจนว่า ประเทศต่าง ๆ ไม่มีความเห็นพ้องร่วมกัน

ผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่กับผู้สูบบุหรี่จะมีระดับวิตามินซีในเลือดต่ำกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ ซึ่งเชื่อว่า เกิดจากความเสียหายเนื่องกับออกซิเดชั่น (oxidative damage) ร่างกายจึงใช้วิตามินซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระนี้ให้หมดไป[3][80] แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐประมาณว่า ผู้สูบบุหรี่จำเป็นต้องได้วิตามินซี 35 มก./วันมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ก็ไม่ได้ตั้งระดับแนะนำที่สูงกว่าสำหรับผู้สูบบุหรี่อย่างเป็นรูปธรรม[3] งานวิเคราะห์อภิมานปี 2014 แสดงความสัมพันธ์ผกผันระหว่างระดับการได้วิตามินซีกับมะเร็งปอด แต่ก็สรุปว่าจำเป็นต้องวิจัยยิ่งขึ้นเพื่อยืนยันสังเกตการณ์นี้[82]

ศูนย์สถิติสุขภาพแห่งชาติสหรัฐได้สำรวจในปี 2013-2014 และรายงานว่า สำหรับผู้ใหญ่อายุ 20 ปีขึ้น ชายได้วิตามินซีโดยเฉลี่ย 83.3 มก./วันและหญิง 75.1 มก./วัน ซึ่งหมายความว่าหญิงครึ่งหนึ่งและชายมากกว่าครึ่งไม่ได้วิตามินซีตามระดับที่แนะนำ (RDA)[83] งานสำรวจเดียวกันระบุว่า ผู้ใหญ่ 30% รายงานว่าตนบริโภควิตามินซีหรือวิตามิน/แร่ธาตุรวมที่มีวิตามินซีเป็นอาหารเสริม และในคนกลุ่มนี้ ปริมาณที่ได้ทั้งหมดอยู่ที่ 300-400 มก./วัน[84]

ในปี 2000 แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM) ตั้งระดับสูงสุด (UL) สำหรับผู้ใหญ่ที่ 2,000 มก./วัน เพราะงานทดลองในมนุษย์รายงานอาการท้องร่วงและปัญหาทางเดินอาหารอื่น ๆ เมื่อได้มากกว่า 3,000 มก./วัน นี่เป็นระดับต่ำสุดที่เริ่มมีปัญหา (LOAEL) คือปัญหาอื่น ๆ พบในระดับที่สูงกว่า[3] ส่วนสำนักงานความปลอดภัยอาหารยุโรป (EFSA) ทบทวนปัญหาความปลอดภัยนี้ในปี 2006 แล้วได้สรุปว่า ไม่มีหลักฐานพอตั้งระดับสูงสุดสำหรับวิตามินซี[85] ซึ่งสถาบันสุขภาพและโภชนาการแห่งชาติญี่ปุ่นก็ได้สรุปเช่นเดียวกันในปี 2010[80]

แหล่งที่ได้

แหล่งธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุดก็คือผักและผลไม้[4] วิตามินซีเป็นอาหารเสริมที่กินกันมากที่สุดและมีอยู่ในหลายรูปแบบ[4] รวมทั้งยาเม็ด ยาสำหรับผสมเครื่องดื่ม และยาแคปซูล

จากพืช

แม้พืชจะเป็นแหล่งอาหารที่ดีสำหรับวิตามินซี แต่ปริมาณก็จะขึ้นอยู่กับชนิดพืช คุณภาพดิน ภูมิอากาศ เก็บเกี่ยวเมื่อไร วิธีการเก็บ และวิธีการจัดขาย[86][87] ตารางต่อไปนี้แสดงค่าประมาณ เพื่อเปรียบเทียบความสมบูรณ์ระหว่างพืชต่าง ๆ[88][89] แต่เพราะพืชบางอย่างวิเคราะห์เมื่อสด บางอย่างก็ตากแห้งแล้ว (ซึ่งก็จะเพิ่มความเข้มข้นขององค์ประกอบต่าง ๆ รวมทั้งวิตามินซี) ข้อมูลอาจมีค่าแปรผันหรืออาจเปรียบเทียบกันได้ยาก ปริมาณเป็นมิลลิกรัมต่อร้อยกรัมของผักผลไม้ส่วนที่กินได้

จากสัตว์

เหมือนสัตว์อื่น ๆ แต่ไม่เหมือนมนุษย์ แพะผลิตวิตามินซีได้เอง แพะโตแล้วที่หนักราว ๆ 70 กก. จะผลิตวิตามินซีเกิน 13,300 มก./วัน ถ้าสุขภาพปกติ และจะผลิตมากกว่านั้นเป็นหลายเท่าตัวเมื่อไม่ปกติ[94]

อาหารที่ได้จากสัตว์มีวิตามินซีน้อย และที่มีก็จะถูกทำลายโดยความร้อนเมื่อหุงต้ม เช่น ตับไก่ดิบมี 17.9 มก./100 ก. แต่เมื่อผัด จะเหลือแค่ 2.7 มก./100 ก. ไข่ไก่ไม่มีวิตามินซีไม่ว่าจะสุกหรือไม่สุก[95] นมแม่มีวิตามินซี 5.0 มก./100 ก. เทียบกับนมสูตรทารก (สหรัฐ) ตัวอย่างหนึ่งที่มี 6.1 มก./100 ก. เทียบกับนมวัวที่ 1.0 มก./100 ก.[96]

การหุงต้มอาหาร

วิตามินซีจะสลายตัวในสถานการณ์บางอย่าง หลายอย่างเกิดเมื่อหุงต้มอาหาร ความเข้มข้นของวิตามินในอาหารยังลดลงตามเวลาและตามอุณหภูมิที่เก็บไว้[97] การหุงต้มสามารถลดวิตามินซีในผักราว ๆ 60% ส่วนหนึ่งก็เพราะการสลายตัวอาศัยเอนไซม์ซึ่งอาจเกิดได้มากกว่าเมื่ออุณหภูมิต่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส[98] ยิ่งหุงต้มนาน ผลเช่นนี้ก็จะเกิดมากขึ้น และการหุงต้มในภาชนะทองแดงก็ยังเร่งปฏิกิริยาการสลายตัวเช่นนี้[72]

วิตามินซีในอาหารยังอาจซึมชะละลายลงในน้ำที่ใช้หุงต้ม[F] ซึ่งก็จะไม่ได้กินเมื่อเททิ้งไป แต่วิตามินซีในผักผลไม้ก็ไม่ได้ละลายออกในอัตราเท่า ๆ กัน งานวิจัยแสดงว่า บรอกโคลีดูเหมือนจะเก็บวิตามินซีได้ดีกว่าผักผลไม้อื่น ๆ[99] งานวิจัยยังแสดงด้วยว่าผลไม้ที่เก็บเกี่ยวสด ๆ จะไม่เสียสารอาหารไปอย่างสำคัญถ้าเก็บไว้ในตู้เย็น 2-3 วัน[100]

อาหารเสริม

อาหารเสริมเป็นวิตามินซีมีเป็นเม็ด แคปซูล เป็นผงสำเร็จรูปสำหรับละลายน้ำ อยู่ในวิตามินและแร่ธาตุรวม อยู่ในสูตรเพื่อเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และผงที่ทำเป็นผลึก[2] อนึ่ง น้ำผลไม้และน้ำหวานอื่น ๆ อาจเติมวิตามินซีด้วย ขนาดเม็ดหรือแคปซูลเริ่มตั้งแต่ 25 มก. ไปจนถึง 1,500 มก. รูปแบบที่ใช้เป็นอาหารเสริมมากที่สุดคือกรดแอสคอร์บิก โซเดียมแอสคอร์เบต และแคลเซียมแอสคอร์เบต[2] โมเลกุลของวิตามินซียังสามารถยึดกับกรดไขมันคือ palmitate กลายเป็น ascorbyl palmitate หรืออาจใส่เข้าใน liposome[G][101]

การเสริมในอาหาร

ในประเทศแคนาดา มีอาหารหลายอย่างที่ผู้ผลิตสามารถอาสาเติมวิตามินซีเอง และหลายอย่างที่บังคับให้ต้องเติม อาหารที่ต้องเติมวิตามินซีรวมทั้งเครื่องดื่มรสผลไม้ ผงชงเป็นเครื่องดื่มรสผลไม้ อาหารที่ใช้เป็นส่วนของไดเอ็ตพลังงานต่ำ ผลิตภัณฑ์กินแทนอาหาร และนมข้น[102]

การเติมในอาหาร

กรดแอสคอร์บิกและรูปแบบเกลือและเอสเทอร์ต่าง ๆ ของมันเป็นสารเติมแต่งอาหารที่สามัญโดยมากเพื่อชะลอกระบวนการออกซิเดชัน หมายเลขสารเติมแต่งอาหารที่ใช้รวมทั้ง

  1. E300 กรดแอสคอร์บิก (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU[103], U.S.[104], ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์[105])
  2. E301 โซเดียมแอสคอร์เบต (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU[103], U.S.[106], ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์[105])
  3. E302 แคลเซียมแอสคอร์เบต (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU[103], U.S.[104], ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์[105])
  4. E303 โพแทสเซียมแอสคอร์เบต (potassium ascorbate) (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์[105] แต่ไม่อนุมัติในสหรัฐ )
  5. E304 เอสเทอร์กรดไขมันของกรดแอสคอร์บิก เช่น ascorbyl palmitate (อนุมัติให้ใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารใน EU[103], U.S.[104], ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์[105])

เชิงอรรถ

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 เป็นส่วนของ National Academies of Sciences, Engineering, and Medicine โดยแบ่งเป็น
    • วิทยาศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAS)
    • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAE)
    • แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM)
  2. LD50 (คือ ขนาดที่ฆ่าประชากร 50%) ในหนูโดยทั่วไปยอมรับที่ 11.9 กรัมต่อกิโลกรัมของน้ำหนักตัวเมื่อบังคับให้อาหารทางหลอดสวนกระเพาะ ยังไม่ทราบกลไกการเสียชีวิตจากขนาดดังกล่าว (1.2% ของน้ำหนัดตัว หรือ 0.84 กก. สำหรับมนุษย์หนัก 70 กก.) แต่อาจเป็นกลไกเชิงกลมากกว่าเชิงเคมี[72] ส่วน LD50 ในมนุษย์ยังไม่ทราบ เพราะขาดข้อมูลการเสียชีวิตโดยอุบัติเหตุหรือการได้สารพิษโดยเจตนา ทว่า เช่นเดียวกับสารทุกอย่างที่ทดลองในลักษณะนี้ LD50 ของหนูยึดเป็นแนวทางสำหรับภาวะพิษในมนุษย์
  3. Health Canada
  4. Japan National Institute of Health and Nutrition.
  5. accessory fruit
  6. ผ่านกระบวนการ leaching (การซึมชะละลาย)
  7. liposome เป็นถุงกลมเล็ก ๆ ที่มีเยื่อหุ้มเป็นลิพิดสองชั้น (lipid bilayer) อย่างน้อย 1 ชุด ซึ่งสามารถใช้เพื่อนำส่งสารอาหารหรือยา liposome สามารถทำได้โดยทำลายเยื่อหุ้มทางชีวภาพ (เช่นใช้เสียงผ่านกระบวนการ sonication)

อ้างอิง

  1. Merck Index, 14th ed.
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 "Ascorbic Acid". The American Society of Health-System Pharmacists. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-30. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 3.15 3.16 3.17 3.18 "Vitamin C". Dietary Reference Intakes for Vitamin C, Vitamin E, Selenium, and Carotenoids. Washington, DC: The National Academies Press. 2000. pp. 95–185. ISBN 978-0-309-06935-9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-02. สืบค้นเมื่อ 2017-09-01. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help) มีข้อความต่าง ๆ รวมทั้ง
    • "Reports of kidney stone formation associated with excess ascorbic acid intake are limited to individuals with renal disease".
    • "data from epidemiological studies do not support an association between excess ascorbic acid intake and kidney stone formation in apparently healthy individuals"
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 "Vitamin C". Micronutrient Information Center, Linus Pauling Institute, Oregon State University, Corvallis, OR. 2018-07-01. สืบค้นเมื่อ 2019-06-19.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Fact Sheet for Health Professionals - Vitamin C". Office of Dietary Supplements, US National Institutes of Health. 2016-02-11. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-30. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  6. "สารอาหารประเภทวิตามิน". siripansiri.wordpress.com. สืบค้นเมื่อ 2016-04-17. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |deadurl= (help)
  7. 7.0 7.1 WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. p. 496. ISBN 9789241547659. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 8.8 Hemilä, H; Chalker, E (January 2013). "Vitamin C for preventing and treating the common cold". The Cochrane Database of Systematic Reviews (1): CD000980. doi:10.1002/14651858.CD000980.pub4. PMC 1160577. PMID 23440782.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  9. 9.0 9.1 9.2 Ye, Y; Li, J; Yuan, Z (2013). "Effect of antioxidant vitamin supplementation on cardiovascular outcomes: a meta-analysis of randomized controlled trials". PLOS ONE. 8 (2): e56803. Bibcode:2013PLoSO...856803Y. doi:10.1371/journal.pone.0056803. PMC 3577664. PMID 23437244.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  10. Duerbeck, NB; Dowling, DD; Duerbeck, JM (March 2016). "Vitamin C: Promises Not Kept". Obstetrical & Gynecological Survey. 71 (3): 187–93. doi:10.1097/OGX.0000000000000289. PMID 26987583.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  11. "Ascorbic acid Use During Pregnancy". Drugs.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-31. สืบค้นเมื่อ 2016-12-30. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  12. Squires, Victor R. (2011). The Role of Food, Agriculture, Forestry and Fisheries in Human Nutrition - Volume IV. EOLSS Publications. p. 121. ISBN 9781848261952.
  13. 13.0 13.1 13.2 "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  14. British national formulary : BNF 76 (76 ed.). Pharmaceutical Press. 2018. p. 1049. ISBN 9780857113382.
  15. "International Drug Price Indicator Guide. Vitamin C: Supplier Prices". Management Sciences for Health, Arlington, VA. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-23. สืบค้นเมื่อ 2017-03-22. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  16. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1937". Nobel Media AB. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-05. สืบค้นเมื่อ 2014-11-20. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  17. Zetterström, R (May 2009). "Nobel Prize 1937 to Albert von Szent-Györgyi: identification of vitamin C as the anti-scorbutic factor". Acta Paediatrica. 98 (5): 915–9. doi:10.1111/j.1651-2227.2009.01239.x. PMID 19239412.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  18. Meister, A (April 1994). "Glutathione-ascorbic acid antioxidant system in animals". J. Biol. Chem. 269 (13): 9397–9400. PMID 8144521. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-11. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  19. Michels, A; Frei, B (2012). "Vitamin C". Biochemical, Physiological, and Molecular Aspects of Human Nutrition (3 ed.). Philadelphia: Saunders. pp. 627–654. ISBN 978-1-4377-0959-9. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  20. Gropper, SS; Smith, JL; Grodd, JL (2005). Advanced nutrition and human metabolism. Belmont, CA: Thomson Wadsworth. pp. 260–275. ISBN 978-0-534-55986-1.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  21. Anjum, Naser A.; Umar, Shahid; Chan, Ming-Tsair, บ.ก. (2010-09-13). Ascorbate-Glutathione Pathway and Stress Tolerance in Plants. Springer. p. 324. ISBN 978-9-048-19403-2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-05. สืบค้นเมื่อ 2017-08-03. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  22. 22.0 22.1 "Vitamin C: MedlinePlus Medical Encyclopedia". medlineplus.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-28. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  23. 23.0 23.1 23.2 23.3 23.4 Hodges, RE; Baker, EM; Hood, J; Sauberlich, HE; March, SC (May 1969). "Experimental scurvy in man". The American Journal of Clinical Nutrition. 22 (5): 535–48. doi:10.1093/ajcn/22.5.535. PMID 4977512.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  24. 24.0 24.1 Pemberton, J (June 2006). "Medical experiments carried out in Sheffield on conscientious objectors to military service during the 1939-45 war". International Journal of Epidemiology. 35 (3): 556–8. doi:10.1093/ije/dyl020. PMID 16510534.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  25. Bjelakovic, G; Nikolova, D; Gluud, LL; Simonetti, RG; Gluud, C (March 2012). "Antioxidant supplements for prevention of mortality in healthy participants and patients with various diseases". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 3 (3): CD007176. doi:10.1002/14651858.CD007176.pub2. PMID 22419320.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  26. 26.0 26.1 Lind, J (1753). A Treatise of the Scurvy. London: A. Millar.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) In the 1757 edition of his work, Lind discusses his experiment starting on page 149. เก็บถาวร 2016-03-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  27. Manwaring, WH (June 1945). "Ascorbic Acid vs. the Common Cold". California and Western Medicine. 62 (6): 309–10. PMC 1781017. PMID 18747053.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  28. 28.0 28.1 Pauling, Linus (1970). Vitamin C and the Common Cold (1 ed.). San Francisco: W. H. Freeman. ISBN 9780716701590. OL 4914696M.
  29. 29.0 29.1 29.2 Pauling, Linus (1976). Vitamin C, the Common Cold, and the Flu. W.H. Freeman and Company.
  30. 30.0 30.1 Heimer, KA; Hart, AM; Martin, LG; Rubio-Wallace, S (May 2009). "Examining the evidence for the use of vitamin C in the prophylaxis and treatment of the common cold". Journal of the American Academy of Nurse Practitioners. 21 (5): 295–300. doi:10.1111/j.1745-7599.2009.00409.x. PMID 19432914.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  31. Wintergerst, ES; Maggini, S; Hornig, DH (2006). "Immune-enhancing role of vitamin C and zinc and effect on clinical conditions" (PDF). Annals of Nutrition & Metabolism. 50 (2): 85–94. doi:10.1159/000090495. PMID 16373990.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  32. 32.0 32.1 EFSA Panel on Dietetic Products, Nutrition and Allergies (2009). "Scientific Opinion on the substantiation of health claims related to vitamin C and protection of DNA, proteins and lipids from oxidative damage (ID 129, 138, 143, 148), antioxidant function of lutein (ID 146), maintenance of vision (ID 141, 142), collagen formation (ID 130, 131, 136, 137, 149), function of the nervous system (ID 133), function of the immune system (ID 134), function of the immune system during and after extreme physical exercise (ID 144), non-haem iron absorption (ID 132, 147), energy-yielding metabolism (ID 135), and relief in case of irritation in the upper respiratory tract (ID 1714, 1715) pursuant to Article 13(1) of Regulation (EC) No 1924/2006". EFSA Journal. 7 (9): 1226. doi:10.2903/j.efsa.2009.1226.
  33. 33.0 33.1 EFSA Panel on Dietetic Products, Nutrition and Allergies (2015). "Vitamin C and contribution to the normal function of the immune system: evaluation of a health claim pursuant to Article 14 of Regulation (EC) No 1924/2006". EFSA Journal. 13 (11): 4298. doi:10.2903/j.efsa.2015.4298.
  34. 34.0 34.1 Cortés-Jofré, M; Rueda, JR; Corsini-Muñoz, G; Fonseca-Cortés, C; Caraballoso, M; X, Bonfill Cosp (October 2012). "Drugs for preventing lung cancer in healthy people". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 10: CD002141. doi:10.1002/14651858.CD002141.pub2. PMID 23076895.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  35. 35.0 35.1 Stratton, J; Godwin, M (June 2011). "The effect of supplemental vitamins and minerals on the development of prostate cancer: a systematic review and meta-analysis". Family Practice. 28 (3): 243–52. doi:10.1093/fampra/cmq115. PMID 21273283.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  36. Xu, X; Yu, E; Liu, L; Zhang, W; Wei, X; Gao, X; Song, N; Fu, C (November 2013). "Dietary intake of vitamins A, C, and E and the risk of colorectal adenoma: a meta-analysis of observational studies". European Journal of Cancer Prevention. 22 (6): 529–39. doi:10.1097/CEJ.0b013e328364f1eb. PMID 24064545.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  37. Papaioannou, D; Cooper, KL; Carroll, C; Hind, D; Squires, H; Tappenden, P; Logan, RF (October 2011). "Antioxidants in the chemoprevention of colorectal cancer and colorectal adenomas in the general population: a systematic review and meta-analysis". Colorectal Disease. 13 (10): 1085–99. doi:10.1111/j.1463-1318.2010.02289.x. PMID 20412095.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  38. Fulan, H; Changxing, J; Baina, WY; Wencui, Z; Chunqing, L; Fan, W; Dandan, L; Dianjun, S; Tong, W; Da, P; Yashuang, Z (October 2011). "Retinol, vitamins A, C, and E and breast cancer risk: a meta-analysis and meta-regression". Cancer Causes & Control. 22 (10): 1383–96. doi:10.1007/s10552-011-9811-y. PMID 21761132.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  39. Harris, HR; Orsini, N; Wolk, A (May 2014). "Vitamin C and survival among women with breast cancer: a meta-analysis". European Journal of Cancer. 50 (7): 1223–31. doi:10.1016/j.ejca.2014.02.013. PMID 24613622.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  40. 40.0 40.1 40.2 40.3 Fritz, H; Flower, G; Weeks, L; Cooley, K; Callachan, M; McGowan, J; Skidmore, B; Kirchner, L; Seely, D (July 2014). "Intravenous Vitamin C and Cancer: A Systematic Review". Integrative Cancer Therapies. 13 (4): 280–300. doi:10.1177/1534735414534463. PMID 24867961.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) มีข้อความเป็นต้นว่า
    • "Intravenous vitamin C is a contentious adjunctive cancer therapy, widely used in naturopathic and integrative oncology settings."
  41. 41.0 41.1 41.2 41.3 Du, J; Cullen, JJ; Buettner, GR (December 2012). "Ascorbic acid: chemistry, biology and the treatment of cancer". Biochimica et Biophysica Acta. 1826 (2): 443–57. doi:10.1016/j.bbcan.2012.06.003. PMC 3608474. PMID 22728050.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  42. Parrow, NL; Leshin, JA; Levine, M (December 2013). "Parenteral ascorbate as a cancer therapeutic: a reassessment based on pharmacokinetics". Antioxidants & Redox Signaling. 19 (17): 2141–56. doi:10.1089/ars.2013.5372. PMC 3869468. PMID 23621620.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  43. "Inhibition of cellular antioxidants: a possible mechanism of toxic cell injury". 1984. PMID 6094175. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  44. 44.0 44.1 Wilson, MK; Baguley, BC; Wall, C; Jameson, MB; Findlay, MP (March 2014). "Review of high-dose intravenous vitamin C as an anticancer agent". Asia-Pacific Journal of Clinical Oncology. 10 (1): 22–37. doi:10.1111/ajco.12173. PMID 24571058.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) มีข้อความเป็นต้นว่า
    • "Currently, the use of high-dose intravenous vitamin C [as an anticancer agent] cannot be recommended outside of a clinical trial."
  45. 45.0 45.1 Jacobs, C; Hutton, B; Ng, T; Shorr, R; Clemons, M (February 2015). "Is there a role for oral or intravenous ascorbate (vitamin C) in treating patients with cancer? A systematic review". The Oncologist. 20 (2): 210–23. doi:10.1634/theoncologist.2014-0381. PMC 4319640. PMID 25601965.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) มีข้อความเป็นต้นว่า
    • "There is no high-quality evidence to suggest that ascorbate supplementation in cancer patients either enhances the antitumor effects of chemotherapy or reduces its toxicity. Evidence for ascorbate's anti-tumor effects was limited to case reports and observational and uncontrolled studies."
  46. Chen, GC; Lu, DB; Pang, Z; Liu, QF (November 2013). "Vitamin C intake, circulating vitamin C and risk of stroke: a meta-analysis of prospective studies". Journal of the American Heart Association. 2 (6): e000329. doi:10.1161/JAHA.113.000329. PMC 3886767. PMID 24284213.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  47. Ashor, AW; Lara, J; Mathers, JC; Siervo, M (July 2014). "Effect of vitamin C on endothelial function in health and disease: a systematic review and meta-analysis of randomised controlled trials". Atherosclerosis. 235 (1): 9–20. doi:10.1016/j.atherosclerosis.2014.04.004. PMID 24792921.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  48. 48.0 48.1 48.2 48.3 Travica, N; Ried, K; Sali, A; Scholey, A; Hudson, I; Pipingas, A (2017-08-30). "Vitamin C status and cognitive function: A systematic review". Nutrients. 9 (9): E960. doi:10.3390/nu9090960. PMC 5622720. PMID 28867798.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  49. da Silva, Lopes S; Vellas, B; Elemans, S; Luchsinger, J; Kamphuis, P; Yaffe, K; Sijben, J; Groenendijk, M; Stijnen, T (2014). "Plasma nutrient status of patients with Alzheimer's disease: Systematic review and meta-analysis". Alzheimer's and Dementia. 10 (4): 485–502. doi:10.1016/j.jalz.2013.05.1771. PMID 24144963.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  50. Crichton, GE; Bryan, J; Murphy, KJ (September 2013). "Dietary antioxidants, cognitive function and dementia--a systematic review". Plant Foods for Human Nutrition. 68 (3): 279–92. doi:10.1007/s11130-013-0370-0. PMID 23881465.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  51. Li, FJ; Shen, L; Ji, HF (2012). "Dietary intakes of vitamin E, vitamin C, and β-carotene and risk of Alzheimer's disease: a meta-analysis". Journal of Alzheimer's Disease. 31 (2): 253–8. doi:10.3233/JAD-2012-120349. PMID 22543848.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  52. Harrison, FE (2012). "A critical review of vitamin C for the prevention of age-related cognitive decline and Alzheimer's disease". Journal of Alzheimer's Disease. 29 (4): 711–26. doi:10.3233/JAD-2012-111853. PMC 3727637. PMID 22366772.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  53. Rosenbaum, CC; O'Mathúna, DP; Chavez, M; Shields, K (2010). "Antioxidants and antiinflammatory dietary supplements for osteoarthritis and rheumatoid arthritis". Alternative Therapies in Health and Medicine. 16 (2): 32–40. PMID 20232616.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  54. Mathew, MC; Ervin, AM; Tao, J; Davis, RM (June 2012). "Antioxidant vitamin supplementation for preventing and slowing the progression of age-related cataract". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 6 (6): CD004567. doi:10.1002/14651858.CD004567.pub2. PMC 4410744. PMID 22696344.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  55. Bjelakovic, G; Nikolova, D; Gluud, LL; Simonetti, RG; Gluud, C (March 2012). "Antioxidant supplements for prevention of mortality in healthy participants and patients with various diseases". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 3 (3): CD007176. doi:10.1002/14651858.CD007176.pub2. PMID 22419320.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  56. Manwaring, WH (June 1945). "Ascorbic Acid vs. the Common Cold". California and Western Medicine. 62 (6): 309–10. PMC 1781017. PMID 18747053.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  57. Wintergerst, ES; Maggini, S; Hornig, DH (2006). "Immune-enhancing role of vitamin C and zinc and effect on clinical conditions" (PDF). Annals of Nutrition & Metabolism. 50 (2): 85–94. doi:10.1159/000090495. PMID 16373990.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  58. Xu, X; Yu, E; Liu, L; Zhang, W; Wei, X; Gao, X; Song, N; Fu, C (November 2013). "Dietary intake of vitamins A, C, and E and the risk of colorectal adenoma: a meta-analysis of observational studies". European Journal of Cancer Prevention. 22 (6): 529–39. doi:10.1097/CEJ.0b013e328364f1eb. PMID 24064545.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  59. Papaioannou, D; Cooper, KL; Carroll, C; Hind, D; Squires, H; Tappenden, P; Logan, RF (October 2011). "Antioxidants in the chemoprevention of colorectal cancer and colorectal adenomas in the general population: a systematic review and meta-analysis". Colorectal Disease. 13 (10): 1085–99. doi:10.1111/j.1463-1318.2010.02289.x. PMID 20412095.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  60. Fulan, H; Changxing, J; Baina, WY; Wencui, Z; Chunqing, L; Fan, W; Dandan, L; Dianjun, S; Tong, W; Da, P; Yashuang, Z (October 2011). "Retinol, vitamins A, C, and E and breast cancer risk: a meta-analysis and meta-regression". Cancer Causes & Control. 22 (10): 1383–96. doi:10.1007/s10552-011-9811-y. PMID 21761132.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  61. Harris, HR; Orsini, N; Wolk, A (May 2014). "Vitamin C and survival among women with breast cancer: a meta-analysis". European Journal of Cancer. 50 (7): 1223–31. doi:10.1016/j.ejca.2014.02.013. PMID 24613622.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  62. Parrow, NL; Leshin, JA; Levine, M (December 2013). "Parenteral ascorbate as a cancer therapeutic: a reassessment based on pharmacokinetics". Antioxidants & Redox Signaling. 19 (17): 2141–56. doi:10.1089/ars.2013.5372. PMC 3869468. PMID 23621620.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  63. "Inhibition of cellular antioxidants: a possible mechanism of toxic cell injury". 1984. PMID 6094175. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  64. Chen, GC; Lu, DB; Pang, Z; Liu, QF (November 2013). "Vitamin C intake, circulating vitamin C and risk of stroke: a meta-analysis of prospective studies". Journal of the American Heart Association. 2 (6): e000329. doi:10.1161/JAHA.113.000329. PMC 3886767. PMID 24284213.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  65. Ashor, AW; Lara, J; Mathers, JC; Siervo, M (July 2014). "Effect of vitamin C on endothelial function in health and disease: a systematic review and meta-analysis of randomised controlled trials". Atherosclerosis. 235 (1): 9–20. doi:10.1016/j.atherosclerosis.2014.04.004. PMID 24792921.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  66. da Silva, Lopes S; Vellas, B; Elemans, S; Luchsinger, J; Kamphuis, P; Yaffe, K; Sijben, J; Groenendijk, M; Stijnen, T (2014). "Plasma nutrient status of patients with Alzheimer's disease: Systematic review and meta-analysis". Alzheimer's and Dementia. 10 (4): 485–502. doi:10.1016/j.jalz.2013.05.1771. PMID 24144963.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  67. Crichton, GE; Bryan, J; Murphy, KJ (September 2013). "Dietary antioxidants, cognitive function and dementia--a systematic review". Plant Foods for Human Nutrition. 68 (3): 279–92. doi:10.1007/s11130-013-0370-0. PMID 23881465.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  68. Li, FJ; Shen, L; Ji, HF (2012). "Dietary intakes of vitamin E, vitamin C, and β-carotene and risk of Alzheimer's disease: a meta-analysis". Journal of Alzheimer's Disease. 31 (2): 253–8. doi:10.3233/JAD-2012-120349. PMID 22543848.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  69. Harrison, FE (2012). "A critical review of vitamin C for the prevention of age-related cognitive decline and Alzheimer's disease". Journal of Alzheimer's Disease. 29 (4): 711–26. doi:10.3233/JAD-2012-111853. PMC 3727637. PMID 22366772.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  70. Rosenbaum, CC; O'Mathúna, DP; Chavez, M; Shields, K (2010). "Antioxidants and antiinflammatory dietary supplements for osteoarthritis and rheumatoid arthritis". Alternative Therapies in Health and Medicine. 16 (2): 32–40. PMID 20232616.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  71. Mathew, MC; Ervin, AM; Tao, J; Davis, RM (June 2012). "Antioxidant vitamin supplementation for preventing and slowing the progression of age-related cataract". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 6 (6): CD004567. doi:10.1002/14651858.CD004567.pub2. PMC 4410744. PMID 22696344.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  72. 72.0 72.1 "Safety (MSDS) data for ascorbic acid". Oxford University. 2005-10-09. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-09. สืบค้นเมื่อ 2007-02-21. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  73. Goodwin, JS; Tangum, MR (November 1998). "Battling quackery: attitudes about micronutrient supplements in American academic medicine". Archives of Internal Medicine. 158 (20): 2187–91. doi:10.1001/archinte.158.20.2187. PMID 9818798.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  74. Naidu, KA (August 2003). "Vitamin C in human health and disease is still a mystery? An overview" (PDF). Nutrition Journal. 2 (7): 7. doi:10.1186/1475-2891-2-7. PMC 201008. PMID 14498993. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-18. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  75. Thomas, LD; Elinder, CG; Tiselius, HG; Wolk, A; Akesson, A (March 2013). "Ascorbic acid supplements and kidney stone incidence among men: a prospective study". JAMA Internal Medicine. 173 (5): 386–8. doi:10.1001/jamainternmed.2013.2296. PMID 23381591.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  76. 76.0 76.1 "Dietary Guidelines for Indians" (PDF). National Institute of Nutrition, India. 2011.
  77. World Health Organization (2004). "Chapter 7: Vitamin C" (PDF). Vitamin and Mineral Requirements in Human Nutrition, Second Edition (PDF). Geneva: World Health Organization. ISBN 978-92-4-154612-6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-11-29. สืบค้นเมื่อ 2007-02-20. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  78. "Commission Directive 2008/100/EC of 28 October 2008 amending Council Directive 90/496/EEC on nutrition labelling for foodstuffs as regards recommended daily allowances, energy conversion factors and definitions". The Commission of the European Communities. 2008-10-29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-02. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  79. "Vitamin C". Natural Health Product Monograph. Health Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-03. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  80. 80.0 80.1 80.2 "Dietary Reference Intakes for Japanese 2010: Water-Soluble Vitamins" (PDF). Journal of Nutritional Science and Vitaminology. 2013 (59): S67–S82.
  81. Luo, J; Shen, L; Zheng, D (2014). "Association between vitamin C intake and lung cancer: a dose-response meta-analysis". Scientific Reports. 4: 6161. Bibcode:2014NatSR...4E6161L. doi:10.1038/srep06161. PMC 5381428. PMID 25145261.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  82. "TABLE 1: Nutrient Intakes from Food and Beverages" เก็บถาวร 2017-02-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน What We Eat In America, NHANES 2012-2014
  83. "TABLE 37: Nutrient Intakes from Dietary Supplements" เก็บถาวร 2017-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน What We Eat In America, NHANES 2012-2014
  84. "Tolerable Upper Intake Levels For Vitamins And Minerals" (PDF). European Food Safety Authority. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-16. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  85. Duarte, A; Caixeirinho, D; Miguel, G; Sustelo, V; Nunes, C; Mendes, M; Marreiros, A (2010). "Vitamin C Content of Citrus from Conventional versus Organic Farming Systems". Acta Horticulturae. 868 (868): 389–394. doi:10.17660/ActaHortic.2010.868.52. hdl:10400.1/1158.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  86. "The vitamin and mineral content is stable". Danish Veterinary and Food Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-14. สืบค้นเมื่อ 2014-11-20.
  87. "NDL/FNIC Food Composition Database Home Page". USDA Nutrient Data Laboratory, the Food and Nutrition Information Center and Information Systems Division of the National Agricultural Library. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-15. สืบค้นเมื่อ 2014-11-20. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  88. 89.0 89.1 "Natural food-Fruit Vitamin C Content". The Natural Food Hub. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-07. สืบค้นเมื่อ 2007-03-07. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  89. 90.0 90.1 90.2 USDA Food Composition Databases United States Department of Agriculture, Agricultural Research Service. Release 28 (2015).
  90. Brand, JC; Rae, C; McDonnell, J; Lee, A; Cherikoff, V; Truswell, AS (1987). "The nutritional composition of Australian aboriginal bushfoods. I". Food Technology in Australia. 35 (6): 293–296.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  91. Justi, KC; Visentainer, JV; de Souza N, Evelázio; Matsushita, M (December 2000). "Nutritional composition and vitamin C stability in stored camu-camu (Myrciaria dubia) pulp". Archivos Latinoamericanos de Nutricion. 50 (4): 405–8. PMID 11464674.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  92. Vendramini, AL; Trugo, LC (2000). "Chemical composition of acerola fruit (Malpighia punicifolia L.) at three stages of maturity". Food Chemistry. 71 (2): 195–198. doi:10.1016/S0308-8146(00)00152-7.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  93. Chatterjee, IB (December 1973). "Evolution and the biosynthesis of ascorbic acid". Science. 182 (4118): 1271–2. Bibcode:1973Sci...182.1271C. doi:10.1126/science.182.4118.1271. PMID 4752221.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  94. USDA Food Composition Databases United States Department of Agriculture, Agricultural Research Service. Release 28 (2015).
  95. Clark, S (2007-01-08). "Comparing Milk: Human, Cow, Goat & Commercial Infant Formula". Washington State University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-01-29. สืบค้นเมื่อ 2007-02-28.
  96. Roig, MG; Rivera, ZS; Kennedy, JF (May 1995). "A model study on rate of degradation of L-ascorbic acid during processing using home-produced juice concentrates". International Journal of Food Sciences and Nutrition. 46 (2): 107–15. doi:10.3109/09637489509012538. PMID 7621082.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  97. Allen, MA; Burgess, SG (1950). "The losses of ascorbic acid during the large-scale cooking of green vegetables by different methods". The British Journal of Nutrition. 4 (2–3): 95–100. doi:10.1079/BJN19500024. PMID 14801407.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  98. Combs, GF (2001). The Vitamins, Fundamental Aspects in Nutrition and Health (2nd ed.). San Diego, CA: Academic Press. pp. 245–272. ISBN 978-0-12-183492-0.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  99. Miranda, H (2006-06-02). "Fresh-Cut Fruit May Keep Its Vitamins". WebMD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-07-26. สืบค้นเมื่อ 2007-02-25. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  100. Davis, JL; Paris, HL; Beals, JW; Binns, SE; Giordano, GR; Scalzo, RL; Schweder, MM; Blair, E; Bell, C (2016). "Liposomal-encapsulated Ascorbic Acid: Influence on Vitamin C Bioavailability and Capacity to Protect Against Ischemia-Reperfusion Injury". Nutrition and Metabolic Insights. 9: 25–30. doi:10.4137/NMI.S39764. PMC 4915787. PMID 27375360.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  101. "Addition of Vitamins and Minerals to Food, 2014". Canadian Food Inspection Agency, Government of Canada. สืบค้นเมื่อ 2017-11-20.
  102. 103.0 103.1 103.2 103.3 UK Food Standards Agency: "Current EU approved additives and their E Numbers". สืบค้นเมื่อ 2011-10-27.
  103. 104.0 104.1 104.2 U.S. Food and Drug Administration: "Listing of Food Additives Status Part I". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-17. สืบค้นเมื่อ 2011-10-27. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  104. 105.0 105.1 105.2 105.3 105.4 Australia New Zealand Food Standards Code "Standard 1.2.4 - Labelling of ingredients". สืบค้นเมื่อ 2011-10-27.
  105. U.S. Food and Drug Administration: "Listing of Food Additives Status Part II". สืบค้นเมื่อ 2011-10-27.

แหล่งข้อมูลอื่น