ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพภาคที่ 4"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
T.Cha. (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง
T.Cha. (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 233: บรรทัด 233:
{| class="wikitable" width = 100%
{| class="wikitable" width = 100%
|-
|-
! colspan = "3" style = "background:white; color:black; " | ทำเนียบแม่ทัพน้อยที่ 4 กองทัพบกไทย
! colspan = "3" style = "background:green; color:white; " | ทำเนียบแม่ทัพน้อยที่ 4 กองทัพบกไทย
|-
|-
! style= "background:green; color:white; " | รายนามแม่ทัพน้อยที่ 4
! style= "background:green; color:white; " | รายนามแม่ทัพน้อยที่ 4

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:57, 7 พฤษภาคม 2564

กองทัพภาคที่ 4
ตราประจำเหล่าทัพ
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
พลโท เกรียงไกร ศรีรักษ์

ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
ผู้ประเดิมตำแหน่งพลโท สัณห์ จิตรปฏิมา
สถาปนา18 มกราคม พ.ศ. 2519

กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) ของกองทัพบกไทย ได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 รับผิดชอบพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช และมีกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) อยู่ที่ค่ายสิรินธร ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เพื่อดูแลความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉพาะ

หน่วยขึ้นตรง

ส่วนกำลังรบ

  • กองพลทหารราบที่ 5 (พล.ร.5) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
    • กรมทหารราบที่ 5 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 5 (พ.อ.)
      • กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
    • กรมทหารราบที่ 15 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 15 (พ.อ.)
      • กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 4 กรมทหารราบที่ 15 (พ.อ.)
    • กรมทหารราบที่ 25 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 25 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 25 (พ.อ.)
      • กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 25 (พ.ท.)
    • กรมทหารปืนใหญ่ที่ 5 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 5 (พ.ท.)
      • กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 15 (พ.ท.)
      • กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 25 (พ.ท.)
      • กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 105 (พ.ท.)
    • กองพันทหารม้าที่ 16 กองพลทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
    • กองพันทหารช่างที่ 5 กองพลทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
    • กองพันทหารสื่อสารที่ 5 กองพลทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
    • กองพันเสนารักษ์ที่ 5 กองพลทหารราบที่ 5 (พ.ท.)
  • กองพลทหารราบที่ 15 (พล.ร.15) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสมเด็จพระสุริโยทัย ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
    • กรมทหารราบที่ 151 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 151 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 151 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 151 (พ.ท.)
    • กรมทหารราบที่ 152 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 152 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 152 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 152 (พ.ท.)
    • กรมทหารราบที่ 153 พ.อ.(พ))
      • กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 153 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 153 (พ.ท.)
      • กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 153 (พ.ท.)
    • กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 พ.อ.(พ))
      • กองพันซ่อมบำรุง กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
      • กองพันเสนารักษ์ กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
      • กองพันส่งกำลังและบริการ กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
      • ส่วนแยก กรมสนับสนุน กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
    • กองพันทหารม้าที่ 31 กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
    • กองพันทหารช่างที่ 15 กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)
    • กองพันทหารสื่อสารที่ 15 กองพลทหารราบที่ 15 (พ.ท.)

ส่วนสนับสนุนการรบ

  • กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (บชร.4) ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
    • กองพันส่งกำลังและบริการที่ 24 กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (พ.อ.)
    • กองพันซ่อมบำรุงที่ 24 กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (พ.อ.)
    • กองพันสรรพาวุธกระสุนที่ 24 กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (พ.อ.)
    • กองพันทหารขนส่งที่ 24 กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (พ.อ.)
    • ส่วนแยก กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (พ.อ.)
  • กองพันทหารสื่อสารที่ 24 (พ.ท.)

ส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ

ส่วนภูมิภาค

ทำเนียบแม่ทัพภาค

ทำเนียบแม่ทัพภาคที่ 4 กองทัพบกไทย
รายนามแม่ทัพภาคที่ 4 วาระการดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
1. พลโท สัณห์ จิตรปฏิมา 18 มกราคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2519
2. พลโท ปิ่น ธรรมศรี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2522
3. พลโท จวน วรรณรัตน์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522 – 30 กันยายน พ.ศ. 2524
4. พลโท หาญ ลีนานนท์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2524 – 30 กันยายน พ.ศ. 2526
5. พลโท วันชัย จิตต์จำนงค์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2526 – 30 กันยายน พ.ศ. 2529
6. พลโท วิศิษย์ อาจคุ้มวงษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2529 – 30 กันยายน พ.ศ. 2532
7. พลโท ยุทธนา แย้มพันธ์ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2532 – 1 เมษายน พ.ศ. 2534
8. พลโท กิตติ รัตนฉายา 2 เมษายน พ.ศ. 2534 – 30 กันยายน พ.ศ. 2537
9. พลโท ปานเทพ ภูวนารถนุรักษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2537 – 30 กันยายน พ.ศ. 2539
10. พลโท ปรีชา สุวัณณะศรี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2542
11. พลโท ณรงค์ เด่นอุดม (เต็งกูอับดุลเลาะ บินเตงกูมูดอ) 1 เมษายน พ.ศ. 2542 – 30 กันยายน พ.ศ. 2544
12. พลโท วิชัย บัวรอด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2546
13. พลโท ทรงกิตติ จักกาบาตร์ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 – 30 กันยายน พ.ศ. 2546
14. พลโท พงษ์ศักดิ์ เอกบรรณสิงห์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2547 เหตุการณ์ปล้นปืนจากกองพันพัฒนาที่ 4 ค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ต.ปิเหล็ง อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส
15. พลโท พิศาล วัฒนะวงค์คีรี 1 เมษายน พ.ศ. 2547 – 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ย้ายช่วยราชการกองทัพบกกรณีเหตุการณ์ความรุนแรงที่อ.ตากใบ จ.นราธิวาส[1]
พลตรี ขวัญชาติ กล้าหาญ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 รักษาการแม่ทัพภาคที่ 4[2]
16. พลโท ขวัญชาติ กล้าหาญ 1 เมษายน พ.ศ. 2548 – 10 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ย้ายเป็นที่ปรึกษาสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมกรณีเหตุการณ์ความรุนแรงสังหารนาวิกโยธิน ต.ตันหยงลิมอ อ.ระแงะ จ.นราธิวาส
เหตุการณ์สังหารหมู่บ้านกะทอง ต.บองอ อ.ระแงะ จ.นราธิวาส[3]
17. พลโท องค์กร ทองประสม 11 ธันวาคม พ.ศ. 2548 – 30 กันยายน พ.ศ. 2549
18. พลโท วิโรจน์ บัวจรูญ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 – 30 กันยายน พ.ศ. 2551
19. พลโท พิเชษฐ์ วิสัยจร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553
20. พลโท อุดมชัย ธรรมสาโรรัชต์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2556
21. พลโท สกล ชื่นตระกูล 1 เมษายน พ.ศ. 2556 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2557
22. พลโท วลิต โรจนภักดี 1 เมษายน พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2557
23. พลโท ปราการ ชลยุทธ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558
24. พลโท วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559
25. พลโท ปิยวัฒน์ นาควานิช 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561
26. พลโท พรศักดิ์ พูลสวัสดิ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – 30 กันยายน พ.ศ. 2563
27. พลโท เกรียงไกร ศรีรักษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน

หมายเหตุ ยศทหารเป็นยศขณะดำรงตำแหน่ง

ทำเนียบแม่ทัพน้อย

ทำเนียบแม่ทัพน้อยที่ 4 กองทัพบกไทย
รายนามแม่ทัพน้อยที่ 4 วาระการดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
1. พลเอก กิตติ อินทสร 1 ต.ค. 2557
2. พลโท นพวงศ์ สุรวิชัย
3. พลโท เรืองศักดิ์ สุวรรณนาคะ
4. พลโท คุณวุฒิ หมอแก้ว
5. พลโท เกื้อกูล อินนาจักร์
6. พลโท พรศักดิ์ พูลสวัสดิ์
7. พลโท วิชาญ สุขสง
8. พลโท สมพล ปานกุล 1 ต.ค. 2562 - 30 มี.ค. 2563
9. พลโท สิทธิพร มุสิกะสิน

หมายเหตุ ยศทหารเป็นยศขณะดำรงตำแหน่ง

ค่ายทหารที่ตั้งปกติในพื้นที่

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. [https://mgronline.com/politics/detail/9470000076153 "แม่ทัพภาคที่ 4" ขอย้ายตัวเองเข้ากองทัพบกด่วน! หลังถูกกระแสกดดันจากกรณีการสลาย "ม็อบตากใบ" พร้อมให้รองแม่ทัพขึ้นรักษาการแทน] สืบค้นเมือ 25 ตุลาคม 2563
  2. ผ่าปมปลดแม่ทัพ 4 เปลี่ยนม้ากลางศึก ระวังไฟใต้ปะทุ สืบค้นเมือ 20 ตุลาคม 2563
  3. ปมใหม่ ย้ายแม่ทัพ หน่วยรบพิเศษยีดสมรภูมิใต้ สืบค้นเมือ 12 ตุลาคม 2563