ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช"

พิกัด: 13°43′08″N 100°30′45″E / 13.718791°N 100.512543°E / 13.718791; 100.512543
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oum13928 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ellywa (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 92: บรรทัด 92:
| สถานที่ = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| สถานที่ = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| สะพาน = สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
| สะพาน = สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
| สัญลักษณ์สะพาน = [[ไฟล์:DRR (Thailand) Logo.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถยนต์)|link=]] [[ไฟล์:BTS-Logo.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม)|link=]]
| สัญลักษณ์สะพาน = [[ไฟล์:Seal of the Department of Rural Roads of Thailand.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถยนต์)|link=]] [[ไฟล์:BTS-Logo.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม)|link=]]
| เหนือ = [[สะพานพระปกเกล้า]]
| เหนือ = [[สะพานพระปกเกล้า]]
| สัญลักษณ์เหนือ = [[ไฟล์:DRR (Thailand) Logo.svg|35px]]
| สัญลักษณ์เหนือ = [[ไฟล์:Seal of the Department of Rural Roads of Thailand.svg|35px]]
| ใต้ = [[สะพานพระราม 3]]
| ใต้ = [[สะพานพระราม 3]]
| สัญลักษณ์ใต้ = [[ไฟล์:DRR (Thailand) Logo.svg|35px]]
| สัญลักษณ์ใต้ = [[ไฟล์:Seal of the Department of Rural Roads of Thailand.svg|35px]]
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:41, 5 มิถุนายน 2563

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เส้นทางถนนสาทรเหนือ, ถนนสาทรใต้, ถนนกรุงธนบุรี
รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
ที่ตั้งเขตสาทร, เขตบางรัก, เขตคลองสาน
ชื่อทางการสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ผู้ดูแลกรมทางหลวงชนบท
เหนือน้ำสะพานพระปกเกล้า
ท้ายน้ำสะพานพระราม 3
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานชนิดต่อเนื่อง
วัสดุคอนกรีตอัดแรง
ความยาว224.00 เมตร
ความกว้าง12.85 เมตร
ความสูง12.00 เมตร
ช่วงยาวที่สุด92.00 เมตร
จำนวนช่วง3
ประวัติ
วันเริ่มสร้าง1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522
วันสร้างเสร็จ5 พฤษภาคม พ.ศ. 2525
วันเปิด6 พฤษภาคม พ.ศ. 2525
ที่ตั้ง
แผนที่

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือที่รู้จักในนาม สะพานสาทร เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนสาทร (เขตสาทรและเขตบางรัก) กับถนนกรุงธนบุรี (เขตคลองสาน) เป็นสะพานคู่แยกขาเข้า-ขาออก และเว้นเนื้อที่ระหว่างสะพานไว้เผื่อสร้างระบบขนส่งมวลชนอื่น โดยปัจจุบัน พื้นที่ระหว่างสะพานเป็นรางรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีลม และพื้นที่ในฝั่งพระนครยังเป็นที่ตั้งของสถานีสะพานตากสินอีกด้วย

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นที่รู้กันของชาวกรุงเทพฯ ว่าประสบปัญหาการจราจรอย่างหนัก โดยเฉพาะขาเข้าฝั่งพระนคร เนื่องจากปริมาณรถมาก และเชิงสะพานฝั่งพระนครมีสัญญาณไฟจราจร จึงเป็นการปิดกั้นกระแสรถจากฝั่งธนบุรีซึ่งมีปริมาณมากให้ไหลไปได้ช้า โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนที่มีปริมาณรถมากเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนตั้งอยู่ปลายสะพานทางฝั่งพระนครซึ่งในช่วงเวลาเช้าจะมีผู้ปกครองจอดรถเพื่อส่งเด็กนักเรียนเป็นจำนวนมาก และใช้เวลานานมาก ซึ่งเป็นที่มาส่วนหนึ่งของการจราจรที่ติดขัดเป็นพิเศษ[1]

ข้อมูลทั่วไป

  • วันที่ทำการก่อสร้าง : วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522
  • วันเปิดการจราจร  : วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2525
  • บริษัทที่ทำการก่อสร้าง :
  • ราคาค่าก่อสร้าง : 619,994,537.00 บาท
  • แบบของสะพาน : เป็นสะพานชนิดต่อเนื่อง
  • โครงสร้างส่วนบน : คอนกรีตอัดแรง
  • สูงจากระดับน้ำ : 12.00 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
  • จำนวนช่วงสะพานกลางน้ำ : 3 ช่วง (66.00+92.00+66.00)
  • ตัวสะพานช่วงข้ามแม่น้ำความยาว : 224.00 เมตร
  • ช่วงกลางแม่น้ำมีความยาว : 92.00 เมตร
  • เชิงลาดสะพานฝั่งพระนครด้านเหนือน้ำ : 552.00 เมตร
  • เชิงลาดสะพานฝั่งพระนครด้านใต้น้ำ : 570.00 เมตร
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งธนบุรี : 475.00 เมตร
  • ความกว้างของสะพาน : 12.85 เมตร
  • ความกว้างผิวจราจรสะพาน : 19.50 เมตร
  • ความกว้างช่องละ : 3.25 เมตร
  • ทางเท้ากว้าง : 1.60 เมตร
  • ออกแบบรับน้ำหนัก : H-20-44
  • สูงจากระดับน้ำ : 12.00 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
  • สร้างสะพานเป็นแบบสะพานคู่ ห่างกัน : 15.00 เมตร
  • จำนวนช่องทางวิ่ง : 6 ช่องทางจราจร
  • ทางเท้ากว้าง : 1.60 เมตร

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "THE 1979 BANGKOK MASS TRANSIT MASTERPLAN". 2bangkok.com. สืบค้นเมื่อ 2007-11-27. (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น

13°43′08″N 100°30′45″E / 13.718791°N 100.512543°E / 13.718791; 100.512543

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน
เหนือน้ำ
สะพานพระปกเกล้า
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถยนต์) สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม)
ท้ายน้ำ
สะพานพระราม 3