ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 58.11.2.123 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล หนังสือพิมพ์
{{กล่องข้อมูล หนังสือพิมพ์|ชื่อ=ผู้จัดการออนไลน์|ประเภท=สื่อออนไลน์|รูปแบบ=สื่อสารมวลชน|ผู้ก่อตั้ง=[[สนธิ ลิ้มทองกุล]]|เจ้าของ=บ.ไทยเดย์ ดอตคอม จำกัด|ภาษา=ภาษาไทย|พื้นที่=ประเทศไทย|เว็บไซต์=http://mgronline.com|สำนักงานใหญ่=เลขที่ 102/1 [[ถนนพระอาทิตย์]] แขวงชนะสงคราม [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]|ภาพ=[[ไฟล์:Mgr-online-logo.png|mgronline.com]]}}<ref name=":0" />
| ชื่อ = ผู้จัดการ
| ภาพ =
| ประเภท = หนังสือพิมพ์รายวัน
| รูปแบบ = ธุรกิจ (Business)
| เจ้าของ = บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด มหาชน
| สำนักพิมพ์ = [[โรงพิมพ์ตะวันออก]]
| บรรณาธิการอำนวยการ = [[สนธิ ลิ้มทองกุล]]
| บรรณาธิการ =
| บรรณาธิการบริหาร =
| บรรณาธิการในอดีต =
| ก่อตั้ง = 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533
| การเมือง =
| ภาษา = [[ภาษาไทย]]
| ฉบับสุดท้าย =18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
| ราคา = 20.00 บาท
| สำนักงานใหญ่ = เลขที่ 102/1 [[ถนนพระอาทิตย์]] แขวงชนะสงคราม [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| circulation =
| ISSN =
| เว็บไซต์ =
}}


'''ผู้จัดการออนไลน์''' ({{lang-en|MGR Online}}) เป็น[[เว็บไซต์]][[ข่าว]] [[ผู้จัดการออนไลน์]] [[ภาษาไทย]] บริหารงานโดยเครือ[[ผู้จัดการ]] เสนอข่าวทั่วไป ข่าวด่วน ข่าวออนไลน์ ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวดารา ข่าววันนี้ ทันเหตุการณ์ ข่าว[[ธุรกิจ]] นอกจากนี้ยังมี [[นิตยสาร]][[ข่าว]] [[ผู้จัดการสุดสัปดาห์]] และ [https://mgronline.com/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
'''ผู้จัดการ''' ก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]พ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล [[สุจินดา คราประยูร|พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น [[เดอะเนชั่น]], [[กรุงเทพธุรกิจ]] และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่ว[[กรุงเทพมหานคร]] เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบน[[ถนนราชดำเนิน]] จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน

== ประวัติ ==
=== ผู้จัดการรายวัน ===
''หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน'' ฉบับปฐมฤกษ์ลงวันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]พ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล [[สุจินดา คราประยูร|พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น [[เดอะเนชั่น]], [[กรุงเทพธุรกิจ]] และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่ว[[กรุงเทพมหานคร]] เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบน[[ถนนราชดำเนิน]] จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน

=== ระยะเปลี่ยนผ่าน ===
* วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ''ผู้จัดการ 2551 รายวัน'' โดยยังคงนับจำนวนปี และจำนวนฉบับ ต่อเนื่องจากหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวันเดิม
* วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ''สารจากเอเอสทีวี โดยทีมงานผู้จัดการ'' ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ปรากฏการนับปี และเลขฉบับบนหัวหนังสือ รวมถึงไม่มีบรรณลักษณ์ภายในฉบับอีกเช่นกัน

=== เอเอสทีวีผู้จัดการ ===
* เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ออกหนังสือพิมพ์โดยใช้ชื่อว่า ''เอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน'' โดยเริ่มระบุการนับเลขปี และเลขฉบับบนหัวหนังสือ เป็นฉบับปฐมฤกษ์ มีราคาจำหน่าย 20 บาท โดยในเบื้องต้นระบุในบรรณลักษณ์ว่า บริษัท เอเอสทีวี (ประเทศไทย) จำกัด เป็นเจ้าของ ปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็น บริษัท เอเอสทีวีผู้จัดการ จำกัด เป็นเจ้าของ

=== ผู้จัดการรายวัน (กลับคืนมา) ===
ภายหลังการ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|รัฐประหาร พ.ศ. 2557]] จำนวนพิมพ์ก็เพิ่มขึ้นไปหลายสิบเท่าตัว เป็นผลให้เจ้าของใบอนุญาตออกหนังสือพิมพ์ ขอชื่อกลับคืนไปดำเนินการเอง ขณะเดียวกัน [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61|รัฐบาลสมัยที่]] พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] คืนใบอนุญาตออกหนังสือพิมพ์ผู้จัดการกลับมา กองบรรณาธิการชุดใหม่ของผู้จัดการจึงเปลี่ยนมาใช้ชื่ออีกครั้ง ''ผู้จัดการรายวัน'' จนถึงปัจจุบัน<ref name="profiles"/>

== ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ==

{{กล่องข้อมูล นิตยสาร
| title = ผู้จัดการสุดสัปดาห์
| image_file =
| image_caption =
| editor =
| frequency = รายสัปดาห์ (weekly)
| category = นิตยสาร
| company =
| firstdate = 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552
| country = [[ประเทศไทย]]
| language = [[ภาษาไทย|ไทย]]
| website = [https://mgronline.com/daily/1549]
| issn =
|finaldate=
|}}
'''ผู้จัดการสุดสัปดาห์''' เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ประเภทข่าวสารบ้านเมืองในเครือ[[ผู้จัดการ]] มีต้นกำเนิดมาจาก การเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์[[ผู้จัดการรายวัน]] ฉบับประจำวันเสาร์ ซึ่งเริ่มนำเสนอเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ตั้งแต่ฉบับประจำวันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552

== ผู้จัดการออนไลน์ ==
[[ไฟล์:ManagerOnline.png|thumb|หน้าแรก ผู้จัดการออนไลน์]]
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 จากการจัดอันดับโดย[[อเล็กซา]] ผู้จัดการออนไลน์เป็นเว็บไซต์ข่าวที่ผู้ใช้จากประเทศไทยเข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 และเป็นอันดับ 10 จากเว็บไซต์รวมทุกประเภท<ref name=":0">[http://www.alexa.com/site/ds/top_sites?cc=TH&ts_mode=country&lang=none 100 เว็บยอดนิยมอันดับแรกของประเทศไทย] จัดอันดับโดยเว็บไซต์ อเล็กซา</ref> และจากการจัดอันดับโดย[[ทรูฮิตส์]] เป็นเว็บไซต์ข่าวที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และมากเป็นอันดับ 3 หากรวมทุกประเภท<ref>[http://truehits.net/index_ranking.php จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net]</ref>

ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากการจัดอันดับโดย[[ทรูฮิตส์]] ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และเป็นอันดับ 5 หากรวมทุกประเภท<ref>[http://truehits.net/index_ranking.php จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net]</ref>




{{หนังสือพิมพ์ไทย}}
{{หนังสือพิมพ์ไทย}}
{{เครือผู้จัดการ}}

[[หมวดหมู่:เครือผู้จัดการ]]
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2533]]
[[หมวดหมู่:เว็บไซต์ข่าวในประเทศไทย]]
{{โครงหนังสือพิมพ์}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

* [https://mgronline.com/ ผู้จัดการออนไลน์ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]

* หน้าสำหรับแฟน [https://www.facebook.com/MGRonlineLive mgronline.com] ใน[[เฟซบุ๊ก]]

* หน้าวิดีโอ [https://www.youtube.com/NEWS1VDO mgronline.com]

{{หนังสือพิมพ์ไทย}}{{เครือผู้จัดการ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:10, 27 กุมภาพันธ์ 2563

ผู้จัดการออนไลน์
mgronline.com
ประเภทสื่อออนไลน์
ขนาดสื่อสารมวลชน
เจ้าของบ.ไทยเดย์ ดอตคอม จำกัด
ภาษาภาษาไทย
สำนักงานใหญ่เลขที่ 102/1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
เว็บไซต์http://mgronline.com

[1]

ผู้จัดการออนไลน์ (อังกฤษ: MGR Online) เป็นเว็บไซต์ข่าว ผู้จัดการออนไลน์ ภาษาไทย บริหารงานโดยเครือผู้จัดการ เสนอข่าวทั่วไป ข่าวด่วน ข่าวออนไลน์ ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวดารา ข่าววันนี้ ทันเหตุการณ์ ข่าวธุรกิจ นอกจากนี้ยังมี นิตยสารข่าว ผู้จัดการสุดสัปดาห์ และ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ

ประวัติ

ผู้จัดการรายวัน

หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ฉบับปฐมฤกษ์ลงวันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดยสนธิ ลิ้มทองกุล เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬพ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล พล.อ.สุจินดา คราประยูร ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบนถนนราชดำเนิน จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน

ระยะเปลี่ยนผ่าน

  • วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ผู้จัดการ 2551 รายวัน โดยยังคงนับจำนวนปี และจำนวนฉบับ ต่อเนื่องจากหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวันเดิม
  • วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - สารจากเอเอสทีวี โดยทีมงานผู้จัดการ ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ปรากฏการนับปี และเลขฉบับบนหัวหนังสือ รวมถึงไม่มีบรรณลักษณ์ภายในฉบับอีกเช่นกัน

เอเอสทีวีผู้จัดการ

  • เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ออกหนังสือพิมพ์โดยใช้ชื่อว่า เอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน โดยเริ่มระบุการนับเลขปี และเลขฉบับบนหัวหนังสือ เป็นฉบับปฐมฤกษ์ มีราคาจำหน่าย 20 บาท โดยในเบื้องต้นระบุในบรรณลักษณ์ว่า บริษัท เอเอสทีวี (ประเทศไทย) จำกัด เป็นเจ้าของ ปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็น บริษัท เอเอสทีวีผู้จัดการ จำกัด เป็นเจ้าของ

ผู้จัดการรายวัน (กลับคืนมา)

ภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 จำนวนพิมพ์ก็เพิ่มขึ้นไปหลายสิบเท่าตัว เป็นผลให้เจ้าของใบอนุญาตออกหนังสือพิมพ์ ขอชื่อกลับคืนไปดำเนินการเอง ขณะเดียวกัน รัฐบาลสมัยที่ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี คืนใบอนุญาตออกหนังสือพิมพ์ผู้จัดการกลับมา กองบรรณาธิการชุดใหม่ของผู้จัดการจึงเปลี่ยนมาใช้ชื่ออีกครั้ง ผู้จัดการรายวัน จนถึงปัจจุบัน[2]

ผู้จัดการสุดสัปดาห์

ผู้จัดการสุดสัปดาห์
ประเภท นิตยสาร
นิตยสารราย รายสัปดาห์ (weekly)
วันจำหน่ายฉบับแรก 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ประเทศ ประเทศไทย
ภาษา ไทย
เว็บไซต์ [1]

ผู้จัดการสุดสัปดาห์ เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ประเภทข่าวสารบ้านเมืองในเครือผู้จัดการ มีต้นกำเนิดมาจาก การเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ฉบับประจำวันเสาร์ ซึ่งเริ่มนำเสนอเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ตั้งแต่ฉบับประจำวันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ผู้จัดการออนไลน์

ไฟล์:ManagerOnline.png
หน้าแรก ผู้จัดการออนไลน์

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 จากการจัดอันดับโดยอเล็กซา ผู้จัดการออนไลน์เป็นเว็บไซต์ข่าวที่ผู้ใช้จากประเทศไทยเข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 และเป็นอันดับ 10 จากเว็บไซต์รวมทุกประเภท[1] และจากการจัดอันดับโดยทรูฮิตส์ เป็นเว็บไซต์ข่าวที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และมากเป็นอันดับ 3 หากรวมทุกประเภท[3]

ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากการจัดอันดับโดยทรูฮิตส์ ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และเป็นอันดับ 5 หากรวมทุกประเภท[4]


แหล่งข้อมูลอื่น

  1. 1.0 1.1 100 เว็บยอดนิยมอันดับแรกของประเทศไทย จัดอันดับโดยเว็บไซต์ อเล็กซา
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ profiles
  3. จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net
  4. จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net