ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฌ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 112.203.241.132 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Love Krittaya
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
คำที่ใช้ ฌ เฌอ ในปัจจุบันมีดังนี้เป็นต้น [[ฌาน]], ฌาปน-, เฌอ, เฌอเอม ฯลฯ
คำที่ใช้ ฌ เฌอ ในปัจจุบันมีดังนี้เป็นต้น [[ฌาน]], ฌาปน-, เฌอ, เฌอเอม ฯลฯ


== เสียง ==
อักษร ฌ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /t͡ɕʰ/ และ[[พยัญชนะสะกด]] ให้เสียง /t̚/ (ในทางทฤษฎี) กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /ʃ/ หรือ /ʒ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/106/27.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส] (พ.ศ. 2553)</ref>
อักษร "ฌ" ตรงกับตัวเทวนาครี "झ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียง[[เสียงกัก เพดานแข็ง ก้อง|เสียงกักเพดานแข็งก้องพ่นลม]] {{IPA|[ɟʰ]}} แต่[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]ไม่มีเสียงนี้ โดยเป็นเสียงใน[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]ดังนี้

{| class="wikitable"
!colspan=2| ภาษาถิ่น !! พยัญชนะต้น !! พยัญชนะตัวสะกด !! หมายเหตุ
|-
|rowspan=3| ไทยกลางที่ราบภาคกลาง || อยุธยา-ปทุมธานี (มาตรฐาน) || [[เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง|[t͡ɕʰ]]] || [t̚] ||
|-
| ธนบุรี || [[เสียงเสียดแทรก หลังปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|[ʃ]]] || [t̚] || เพี้ยนมาจาก[[ภาษาโปรตุเกส]]และ[[ภาษาเปอร์เซีย]]
|-
| สุพรรณบุรี || [t͡ɕʰ] || [d] || หางเสียงลากยาว
|-
|rowspan=2| ไทยกลางเมืองหลวง || กรุงเทพ || [[เสียงผสมเสียดแทรก หลังปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|[tʃ]]]~[[เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|[tsʰ]]] || [t̚] || เพี้ยนมาจาก[[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาแต้จิ๋ว]]
|-
| ชลบุรี-แปดริ้ว || [tsʰ] || [t̚] || เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจาก[[ภาษาแต้จิ๋ว]]
|-
|colspan=2| ไทยกลางภาคกลางตอนบน || [t͡ɕʰ] || [d] || หางเสียงลากยาว
|-
|colspan=2| ไทยกลางตะวันตกเฉียงใต้ || [t͡ɕʰ] || [d] || หางเสียงลากยาว
|-
|colspan=2| ไทยโคราช || [t͡ɕʰ] || [d] || หางเสียงลากยาว
|-
|rowspan=2| ไทยใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ || ไชยา || [t͡ɕʰ] || [c] ||
|-
| ภูเก็ต || [tsʰ] || [c] || เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจาก[[ภาษาฮกเกี้ยน]]
|-
|colspan=2| ไทยใต้มาตรฐาน || [[เสียงกัก เพดานแข็ง ไม่ก้อง|[cʰ]]] || [c] ||
|-
|colspan=2| ไทยใต้ตากใบ || [cʰ] || [c] ||
|-
|}

กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /ʃ/ หรือ /ʒ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/106/27.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส] (พ.ศ. 2553)</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:36, 31 กรกฎาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

(เฌอ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 12 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับหลังจาก ซ โซ่ และก่อนหน้า ญ หญิง ออกเสียงอย่าง ช ช้าง จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฌ เฌอ"

บางคนเรียก "ฌ กะเฌอ" ซึ่งไม่ถูกต้อง เพราะคำว่า "กระเชอ" นั้นสะกดด้วย ช ช้าง หมายถึง ภาชนะสานแบบหนึ่ง ดังที่ใช้ว่า "กระเชอก้นรั่ว" ส่วน "เฌอ" ที่ใช้ ฌ เฌอ แปลว่า ต้นไม้ เป็นคำมาจากภาษาเขมร

ฌ เฌอ ใช้เขียนคำไม่กี่คำ โดยเฉพาะคำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ส่วนในภาษาไทยนั้น ก็มีคำที่ใช้ ฌ เฌอ ทั้งที่เป็นพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายไม่มากนัก

คำที่ใช้ ฌ เฌอ ในปัจจุบันมีดังนี้เป็นต้น ฌาน, ฌาปน-, เฌอ, เฌอเอม ฯลฯ

เสียง

อักษร "ฌ" ตรงกับตัวเทวนาครี "झ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียงเสียงกักเพดานแข็งก้องพ่นลม [ɟʰ] แต่ภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ไม่มีเสียงนี้ โดยเป็นเสียงในภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ดังนี้

ภาษาถิ่น พยัญชนะต้น พยัญชนะตัวสะกด หมายเหตุ
ไทยกลางที่ราบภาคกลาง อยุธยา-ปทุมธานี (มาตรฐาน) [t͡ɕʰ] [t̚]
ธนบุรี [ʃ] [t̚] เพี้ยนมาจากภาษาโปรตุเกสและภาษาเปอร์เซีย
สุพรรณบุรี [t͡ɕʰ] [d] หางเสียงลากยาว
ไทยกลางเมืองหลวง กรุงเทพ [tʃ]~[tsʰ] [t̚] เพี้ยนมาจากภาษาอังกฤษและภาษาแต้จิ๋ว
ชลบุรี-แปดริ้ว [tsʰ] [t̚] เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจากภาษาแต้จิ๋ว
ไทยกลางภาคกลางตอนบน [t͡ɕʰ] [d] หางเสียงลากยาว
ไทยกลางตะวันตกเฉียงใต้ [t͡ɕʰ] [d] หางเสียงลากยาว
ไทยโคราช [t͡ɕʰ] [d] หางเสียงลากยาว
ไทยใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ ไชยา [t͡ɕʰ] [c]
ภูเก็ต [tsʰ] [c] เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจากภาษาฮกเกี้ยน
ไทยใต้มาตรฐาน [cʰ] [c]
ไทยใต้ตากใบ [cʰ] [c]

กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /ʃ/ หรือ /ʒ/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด [1]

อ้างอิง