ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่ำ จ๊กมก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tropicalkitty (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted to revision 6100080 by BotKung (talk). (TW)
บรรทัด 40: บรรทัด 40:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา เกิดวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2508]] ที่[[จังหวัดยโสธร|อำเภอยโสธร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] (ปัจจุบันคือ[[จังหวัดยโสธร]]) มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนกลาง มีน้องสาวที่เล่นตลกคือ [[แวว จ๊กมก]] ออกจากบ้านตั้งแต่อายุ 16-17 ปี มาทำงานอยู่กับวงดนตรีลูกทุ่งของ [[สดใส รุ่งโพธิ์ทอง]] เป็นวงแรก โดยเริ่มทำงานในตำแหน่งคอนวอย (เด็กยกของ) ก่อนจะได้เลื่อนขึ้นมาเป็นหางเครื่อง และตลกตามลำดับ หลังจากนั้น หม่ำ ได้ย้ายไปทำงานกับวงดนตรีลูกทุ่งหลายวง เช่น [[เกรียงไกร กรุงสยาม]], [[โชคชัย โชคอนันต์]], [[ศิรินทรา นิยากร]] และ [[สุพรรณ สันติชัย]] หลังจากนั้น หม่ำ จ๊กมก ตัดสินใจ รวมตัวกับเพื่อนศิลปินตลก ตั้งตลกคณะเก้ายอดขึ้น ก่อนที่ในที่สุด จะได้รับการชักชวนให้มาเล่นตลกในคณะ [[เทพ โพธิ์งาม]] ทำให้หม่ำแสดงตลกร่วมกับคณะเทพ โพธิ์งามมาตลอด โดยใช้ชื่อขณะนั้นว่า "หม่ำ สปาเก็ตตี้" ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "หม่ำ จ๊กม๊ก" โดยรับหน้าที่เป็นตัวประกอบรับมุกในคณะของ เทพ โพธิ์งาม จนหม่ำเริ่มดังเป็นที่รู้จัก [[เทพ โพธิ์งาม]] เห็นหม่ำสามารถยืนได้ด้วยตัวเองแล้ว จึงไล่ให้หม่ำออกจากคณะ[[เทพ โพธิ์งาม]] เพื่อไปตั้งคณะตลกเอง โดยหม่ำได้ออกไปตั้งคณะให้ชื่อว่า คณะหม่ำ จ๊กมก โดยมีสมาชิกคนสำคัญ เช่น [[จาตุรงค์ มกจ๊ก]], [[เท่ง เถิดเทิง]], [[โหน่ง ชะชะช่า]] เป็นต้น
ไอหม่ำ จ๊กมก เกิดวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2508]] ที่[[จังหวัดยโสธร|อำเภอยโสธร]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] (ปัจจุบันคือ[[จังหวัดยโสธร]]) มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนกลาง มีน้องสาวที่เล่นตลกคือ [[แวว จ๊กมก]] ออกจากบ้านตั้งแต่อายุ 16-17 ปี มาทำงานอยู่กับวงดนตรีลูกทุ่งของ [[สดใส รุ่งโพธิ์ทอง]] เป็นวงแรก โดยเริ่มทำงานในตำแหน่งคอนวอย (เด็กยกของ) ก่อนจะได้เลื่อนขึ้นมาเป็นหางเครื่อง และตลกตามลำดับ หลังจากนั้น หม่ำ ได้ย้ายไปทำงานกับวงดนตรีลูกทุ่งหลายวง เช่น [[เกรียงไกร กรุงสยาม]], [[โชคชัย โชคอนันต์]], [[ศิรินทรา นิยากร]] และ [[สุพรรณ สันติชัย]] หลังจากนั้น หม่ำ จ๊กมก ตัดสินใจ รวมตัวกับเพื่อนศิลปินตลก ตั้งตลกคณะเก้ายอดขึ้น ก่อนที่ในที่สุด จะได้รับการชักชวนให้มาเล่นตลกในคณะ [[เทพ โพธิ์งาม]] ทำให้หม่ำแสดงตลกร่วมกับคณะเทพ โพธิ์งามมาตลอด โดยใช้ชื่อขณะนั้นว่า "หม่ำ สปาเก็ตตี้" ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "หม่ำ จ๊กม๊ก" โดยรับหน้าที่เป็นตัวประกอบรับมุกในคณะของ เทพ โพธิ์งาม จนหม่ำเริ่มดังเป็นที่รู้จัก [[เทพ โพธิ์งาม]] เห็นหม่ำสามารถยืนได้ด้วยตัวเองแล้ว จึงไล่ให้หม่ำออกจากคณะ[[เทพ โพธิ์งาม]] เพื่อไปตั้งคณะตลกเอง โดยหม่ำได้ออกไปตั้งคณะให้ชื่อว่า คณะหม่ำ จ๊กมก โดยมีสมาชิกคนสำคัญ เช่น [[จาตุรงค์ มกจ๊ก]], [[เท่ง เถิดเทิง]], [[โหน่ง ชะชะช่า]] เป็นต้น


ในปี [[พ.ศ. 2535]] หม่ำ จ๊กมก ได้รับการชักชวนจาก [[ปัญญา นิรันดร์กุล]] ให้มาร่วมทำงานกับบริษัท [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์]] โดยได้มาทำหน้าที่เป็นตัวปริศนาในรายการ [[ชิงร้อยชิงล้าน]] ในช่วงชิงบ๊วย ครั้งแรกเมื่อวันที่ [[5 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2535]] และนับแต่บัดนั้นเป็นต้นมา หม่ำ จ๊กมก ก็ทำงานร่วมกับเวิร์คพอยท์มาตลอดจนถึงปัจจุบัน ผลงานสำคัญของหม่ำ ในฐานะพิธีกรรายการ[[เกมโชว์]]ต่าง ๆ ของเวิร์คพอยท์ เช่น [[เวทีทอง]], [[ระเบิดเถิดเทิง]] เป็นต้น นอกจากนี้ เคยมีผลงานเพลงแนวลูกทุ่งหมอลำมาแล้วด้วยโดยเพลงดังคือเพลง ''เฮดจังได๋''
ในปี [[พ.ศ. 2535]] หม่ำ จ๊กมก ได้รับการชักชวนจาก [[ปัญญา นิรันดร์กุล]] ให้มาร่วมทำงานกับบริษัท [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์]] โดยได้มาทำหน้าที่เป็นตัวปริศนาในรายการ [[ชิงร้อยชิงล้าน]] ในช่วงชิงบ๊วย ครั้งแรกเมื่อวันที่ [[5 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2535]] และนับแต่บัดนั้นเป็นต้นมา หม่ำ จ๊กมก ก็ทำงานร่วมกับเวิร์คพอยท์มาตลอดจนถึงปัจจุบัน ผลงานสำคัญของหม่ำ ในฐานะพิธีกรรายการ[[เกมโชว์]]ต่าง ๆ ของเวิร์คพอยท์ เช่น [[เวทีทอง]], [[ระเบิดเถิดเทิง]] เป็นต้น นอกจากนี้ เคยมีผลงานเพลงแนวลูกทุ่งหมอลำมาแล้วด้วยโดยเพลงดังคือเพลง ''เฮดจังได๋''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:18, 11 สิงหาคม 2558

หม่ำ จ๊กมก (เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา)
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด24 มิถุนายน พ.ศ. 2508 (58 ปี)
เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา
คู่สมรสเอ็นดู วงษ์คำเหลา
อาชีพนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และ พิธีกร
ผลงานเด่นหมา ลูกบักเขียบ จากภาพยนตร์ มือปืน/โลก/พระ/จัน (2544)
อ้ายห่ำแหล่ / ยอร์จ จากภาพยนตร์ องค์บาก (2546)
สมบัติ ดีพร้อม จากภาพยนตร์ เฉิ่ม (2548)
จ่ามาร์ค จากภาพยนตร์ ต้มยำกุ้ง (2548)
อ้ายแหยม จากภาพยนตร์ แหยม ยโสธร (2548)
ฐานข้อมูล
IMDb
ThaiFilmDb

หม่ำ จ๊กมก มีชื่อจริงว่า เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับความนิยมทั้งในและนอกประเทศไทย[1]

ประวัติ

ไอหม่ำ จ๊กมก เกิดวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2508 ที่อำเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบันคือจังหวัดยโสธร) มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนกลาง มีน้องสาวที่เล่นตลกคือ แวว จ๊กมก ออกจากบ้านตั้งแต่อายุ 16-17 ปี มาทำงานอยู่กับวงดนตรีลูกทุ่งของ สดใส รุ่งโพธิ์ทอง เป็นวงแรก โดยเริ่มทำงานในตำแหน่งคอนวอย (เด็กยกของ) ก่อนจะได้เลื่อนขึ้นมาเป็นหางเครื่อง และตลกตามลำดับ หลังจากนั้น หม่ำ ได้ย้ายไปทำงานกับวงดนตรีลูกทุ่งหลายวง เช่น เกรียงไกร กรุงสยาม, โชคชัย โชคอนันต์, ศิรินทรา นิยากร และ สุพรรณ สันติชัย หลังจากนั้น หม่ำ จ๊กมก ตัดสินใจ รวมตัวกับเพื่อนศิลปินตลก ตั้งตลกคณะเก้ายอดขึ้น ก่อนที่ในที่สุด จะได้รับการชักชวนให้มาเล่นตลกในคณะ เทพ โพธิ์งาม ทำให้หม่ำแสดงตลกร่วมกับคณะเทพ โพธิ์งามมาตลอด โดยใช้ชื่อขณะนั้นว่า "หม่ำ สปาเก็ตตี้" ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "หม่ำ จ๊กม๊ก" โดยรับหน้าที่เป็นตัวประกอบรับมุกในคณะของ เทพ โพธิ์งาม จนหม่ำเริ่มดังเป็นที่รู้จัก เทพ โพธิ์งาม เห็นหม่ำสามารถยืนได้ด้วยตัวเองแล้ว จึงไล่ให้หม่ำออกจากคณะเทพ โพธิ์งาม เพื่อไปตั้งคณะตลกเอง โดยหม่ำได้ออกไปตั้งคณะให้ชื่อว่า คณะหม่ำ จ๊กมก โดยมีสมาชิกคนสำคัญ เช่น จาตุรงค์ มกจ๊ก, เท่ง เถิดเทิง, โหน่ง ชะชะช่า เป็นต้น

ในปี พ.ศ. 2535 หม่ำ จ๊กมก ได้รับการชักชวนจาก ปัญญา นิรันดร์กุล ให้มาร่วมทำงานกับบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ โดยได้มาทำหน้าที่เป็นตัวปริศนาในรายการ ชิงร้อยชิงล้าน ในช่วงชิงบ๊วย ครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 และนับแต่บัดนั้นเป็นต้นมา หม่ำ จ๊กมก ก็ทำงานร่วมกับเวิร์คพอยท์มาตลอดจนถึงปัจจุบัน ผลงานสำคัญของหม่ำ ในฐานะพิธีกรรายการเกมโชว์ต่าง ๆ ของเวิร์คพอยท์ เช่น เวทีทอง, ระเบิดเถิดเทิง เป็นต้น นอกจากนี้ เคยมีผลงานเพลงแนวลูกทุ่งหมอลำมาแล้วด้วยโดยเพลงดังคือเพลง เฮดจังได๋ เพ็ชรเพ็ชรเพ็ชรเพ็ชรเพ็ชรทายทายทายทายทายหำเพ็ชรทาย ปัจจุบัน หม่ำ จ๊กมก เป็นเจ้าของ บริษัท บั้งไฟ ฟิล์ม จำกัด ผลิตภาพยนตร์ ได้แก่ ภาพยนตร์เรื่องบอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม และ แหยม ยโสธร ที่ทำรายได้เกิน 100 ล้านบาท และเป็นเจ้าของ บริษัท บั้งไฟ สตูดิโอ จำกัด ผลิตรายการโทรทัศน์ ได้แก่ รายการบิ๊กหม่ำ และละคร แฟกทอรีที่รัก พร้อมกับยังรับงานแสดงอยู่ และทำธุรกิจร้านอาหาร โรงลาบยโสธร ติดห้างเดอะมอลล์ บางแค บางกะปิ อีกด้วย

หม่ำเรียน กศน.จบชั้น ม.6 พร้อมกับ ธีรเทพ วิโนทัย ที่เรียนสถาบันเดียวกัน และได้ปริญญาโท มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากคณะมนุษยศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง และขณะนี้กำลังศึกษาในคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ในด้านชีวิตครอบครัว หม่ำสมรสกับ "มด" เอ็นดู วงษ์คำเหลา หลังใช้ชีวิตคู่มาถึง 22 ปี ก็พึ่งจะได้จัดงานแต่งงานด้วยกันโดยที่ปัญญา นิรันดร์กุล เป็นผู้จัดให้ในฐานะลูกน้องที่ร่วมงานกันมานาน และมีบุตรด้วยกันสองคนคือ "เอ็ม" นางสาวบุษราคัม วงษ์คำเหลา และ "มิกซ์" นายเพทาย วงษ์คำเหลา โดยขณะนี้ทั้งคู่กำลังศึกษาเกี่ยวกับภาพยนตร์อยู่ที่เมืองโตรอนโต ประเทศแคนาดา ลูกโซ่ไอเพ็ชรทาย เพ็ชรใหญ่เพ็ชรใหญ่

ผลงาน

รายการและละครโทรทัศน์

ในปัจจุบัน

ในอดีต

ละครยาว

ภาพยนตร์

แสดง

ไฟล์:แหยมยโสธร.jpg
แหยม ยโสธร

ผลงานกำกับภาพยนตร์และเขียนบทภาพยนตร์

อำนวยการสร้าง

โฆษณา

  • โค้ก ชุด "โคคา-โคลา เวิร์ลด์คัพ" 2014 
  • วอยซ์ ชุด หม่ำ (วอยซ์) กันทั้งครอบครัว
  • ทรูมูฟ (ทรู มูฟ แจ๋วจริง ลองดิ)
  • ลูกอม คลอเรตต์ (ร่วมกับ วิลลี่ แมคอินทอช)
  • น้ำปลา กุ๊กทอง
  • รถจักรยานยนต์ซูซูกิ สแมรช ชุด หมีขาว
  • โบตัน ชุด ละครวิทยุ (ร่วมกับ วรนุช วงศ์สวรรค์)
  • ยำยำ จัมโบ้ รสผัดขี้เมา ชุด กล่องข้าวน้อย 1996
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ชุด Q Brand-ลำไย (ร่วมกับ จา พนม)
  • งาน OTOP City 2009 ศักดิ์ศรีแห่งภูมิปัญญาไทย ช็อปกระจุย หม่ำกระจาย ที่อิมแพค เมืองทองธานี
  • กระทรวงมหาดไทย ชุด รณรงค์การเลือกตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลทั่วประเทศไทย (ร่วมกับ จาตุรงค์ มกจ๊ก)
  • เครื่องดื่มซุปเปอร์ลูกทุ่ง
  • สีเอกซ์ตร้าปาม
  • เมืองไทยประกันชีวิต ชุด โครงการเมืองไทยรุ่นใหญ่ 5 ไฟท์โรค

หนังสือ

หนังสือการ์ตูน

ผลงานเพลง

  • อัลบั้ม หม่ำ..ซะ (3 เวลาก่อนอาหาร) / วี.ไอ.พี. (2537)
  • อัลบั้ม 2542 เสี่ยวเต็มเมือง (เพลง เฮดจังได๋) / เอสดีเอส
  • เพลงประกอบภาพยนตร์ เรื่อง แหยม ยโสธร / ลำน้ำชี
  • เพลงประกอบภาพยนตร์ เรื่อง บอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม 2 / ลำน้ำชี
  • เพลงประกอบภาพยนตร์ เรื่อง แหยม ยโสธร 2
  • เพลงประกอบภาพยนตร์ เรื่อง ใหม่กะหม่ำ โดนกะโดน
  • เพลงประกอบภาพยนตร์ เรื่อง แหยม ยโสธร 3

ผลงานอื่น ๆ

รางวัลที่ได้รับ

  • พ.ศ. 2553 - รางวัลเทพทอง ครั้งที่ 11
  • พ.ศ. 2553 - บุคคลที่น่ายกย่องที่สุดแห่งปี 2553 ด้านการสู้ชีวิตจนประสบความสำเร็จ อันดับที่ 1
  • พ.ศ. 2554 - รางวัลคนดีศรีอีสาน

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น