ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟธนบุรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.buriram (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox station
{| style="float: right;"
|{{ป้ายสถานีรถไฟ
| name = สถานีรถไฟธนบุรี
| type =
| name_th = ธนบุรี
| style =
| name_en = Thonburi <!-- ที่สถานที่จริงเขียนติดกัน ทั้งธนบุรีเก่า และธนบุรีใหม่ -->
| distance = 0.87
| route_box = <br/>
{[เส้นทางรถไฟ|{{WL|ทางรถไฟสายใต้|รถไฟทางไกลสายใต้}}|{{สถานีรายทาง
}}
| prev_th = {{สรฟ|ธนบุรี (เดิม)}}
{{รถไฟทางตรง
| prev_th = ธนบุรี (เดิม)
| prev_en = Thonburi (Old)
| prev_en = Thonburi (Old)
| next_th = {{ปรฟ|จรัญสนิทวงศ์}}
| prev_distance = 0.87
| next_th = จรัญสนิทวงศ์|next_en = Charansnitwong
| next_en = Charansnitwong
}} }}
| next_distance = 0.67
| image = Thonburi_new.jpg
| image_size = 250px
| image_caption =
| address = [[ถนนรถไฟ]] [[แขวงศิริราช]] [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| coordinates =
| line =
| other =
| structure =
| platform =
| depth =
| levels =
| tracks =
| signal = หางปลา (ไม่ใช้งานแล้ว)
| parking =
| bicycle =
| baggage_check =
| opened = [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2446]]
| closed =
| rebuilt =
| electrified =
| ADA =
| code =
| owned =
| zone =
| smartcardname =
| smartcardstatus =
| former =
| passengers =
| pass_year =
| pass_percent =
| pass_system =
| mpassengers =
| services =
| map_locator =
}}
}}
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันตก}}
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันตก}}

{{กล่องข้อมูล สถานีรถไฟ
[[ไฟล์:Rail Thonburi SPRSS.jpg|thumb|250px|สัญญาหางปลาที่สถานี]]
| line = ย่านชานเมือง

| image = Thonburi_new.jpg
| short_description = สถานีรถไฟธนบุรี
| station_id = -
| name_full_th = ธนบุรี
| name_abbr_th = ธบ.
| name_full_en = Thonburi
| name_abbr_en = TBR
| area_of = กรุงเทพ
| station_level = สถานีชั้น 1
| signal_system = หางปลา (ปัจจุบันไม่ใช้งานแล้ว)
| latitude = 13.760634
| longtitude = 100.478814
| mapia_url =
| area_of = บางซื่อ
| address = [[ถนนรถไฟ]] [[แขวงศิริราช]] [[เขตบางกอกน้อย]] กรุงเทพมหานคร 10700
| telno = 02-411-3102<ref>[http://bkkonline.com/phone/train.html สถานีรถไฟ] Bkkonline</ref>
| station_master =
| station_master_assistant =
| noof_rails =
| institution =
| note =
}}
|-
|[[ไฟล์:Rail Thonburi SPRSS.jpg|thumb|250px|สัญญาหางปลาที่สถานี]]
|-
|}
''ดูเพิ่มที่ [[สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)]]''
''ดูเพิ่มที่ [[สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)]]''



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:35, 13 พฤษภาคม 2555

สถานีรถไฟธนบุรี

| image = Thonburi_new.jpg | image_size = 250px | image_caption = | address = ถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร | coordinates = | line = | other = | structure = | platform = | depth = | levels = | tracks = | signal = หางปลา (ไม่ใช้งานแล้ว) | parking = | bicycle = | baggage_check = | opened = 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 | closed = | rebuilt = | electrified = | ADA = | code = | owned = | zone = | smartcardname = | smartcardstatus = | former = | passengers = | pass_year = | pass_percent = | pass_system = | mpassengers = | services = | map_locator = }} แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ

สัญญาหางปลาที่สถานี

ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)

สถานีรถไฟธนบุรี หรือเดิมเรียกว่า สถานีรถไฟบางกอกน้อย ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก สถานีรถไฟบางกอกน้อย เปิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 โดยมีสถานีต้นทางอยู่สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปลายทางไปที่สถานีรถไฟเพชรบุรี [1]

ประวัติ

อาคารแรกเริ่มเมื่อสร้างสถานีบางกอกน้อย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 นั้นไม่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนนัก พบว่ามีภาพวาดที่ระบุว่าเป็นภาพสถานีรถไฟหลวงสายใต้ แต่ยังไม่พบภาพถ่ายจริงของสถานีรถไฟหลวงสายใต้ในระยะนั้น อย่างไรก็ตาม ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 อาคารสถานีรถไฟหลวงสายใต้ หรือสถานีบางกอกน้อยถูกทำลายอย่างย่อยยับ รัฐบาลในสมัยของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม จึงให้สร้างอาคารหลังใหม่ทดแทนที่ถูกทำลายไป โดยสร้างเป็นอาคารอิฐสีแดง มีหอนาฬิกา ซึ่งถือว่าเป็นอาคารที่มีความสวยงามมากที่สุดอีกแห่งหนึ่ง และตั้งชื่อสถานีนี้ใหม่ว่า สถานีธนบุรี และเปิดใช้งานอาคารหลังใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2493

บทบาทของสถานีธนบุรีในฐานะต้นทางของรถไฟสายใต้เริ่มน้อยลง เมื่อรถไฟสายใต้หลายขบวนได้เปลี่ยนต้นทาง-ปลายทางไปที่สถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งต่อมาในระยะหลัง ขบวนรถที่ให้บริการ ณ สถานีธนบุรีจึงมีเพียงขบวนรถธรรมดาและและขบวนรถชานเมือง รวมถึงขบวนรถรวม ในเส้นทางสายใต้ (รวมถึงเส้นทางสายกาญจนบุรีและสุพรรณบุรี)

ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2542 รัฐบาลสมัยนายชวน หลีกภัย ได้มีโครงการปรับปรุงอาคารสถานีธนบุรีและพื้นที่โดยรอบ ทำให้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง การรถไฟได้สร้างสถานีรถไฟอีกแห่งหนึ่งขึ้นมาเพื่อใช้เป็นที่รับส่งผู้โดยสารทดแทนสถานีธนบุรี ตั้งชื่อว่าสถานีบางกอกน้อย (สถานีชั้น 4) (ชื่อเดียวกับสถานีรถไฟหลวงสายใต้ในอดีตก่อนที่จะถูกทำลายจากสงคราม) ห่างจากสถานีธนบุรี 0.866 กิโลเมตร แต่สถานีธนบุรีนั้น ก็ยังเปิดจำหน่ายตั๋วและเปิดทำการตามปกติ แต่ผู้โดยสารต้องเดินทางมาขึ้นลงขบวนรถที่สถานีใหม่ที่สร้างขึ้น แต่โครงการดังกล่าวประสบปัญหาอย่างมากทำให้หยุดชะงักไปในที่สุด

ในปี พ.ศ. 2546 ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นที่น่าสนใจว่า มีชั่วระยะเวลาสั้นๆ ที่ รฟท.ได้นำขบวนรถโดยสารเข้ามาหยุดรับส่งผู้โดยสารที่อาคารสถานีธนบุรีเหมือนเดิม แต่ในที่สุด เมื่อ รฟท.ได้มอบที่ดินบริเวณสถานีธนบุรีจำนวน 33 ไร่ แก่คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ทำให้ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2546 รฟท.จึงไม่เดินรถเข้าสถานีธนบุรีเป็นการถาวร โดยให้ใช้สถานีบางกอกน้อยที่สร้างใหม่เป็นต้นทาง-ปลายทาง

สถานีธนบุรี หมดบทบาทไประยะเวลาหนึ่งหลังจากที่ รฟท.ยกที่ดิน 33 ไร่ อันเป็นที่ตั้งนั้นให้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล ทำให้อาคารสถานีธนบุรีมิใช่ทรัพย์สินของ รฟท.อีกต่อไป ขบวนรถต่าง ๆ ที่เข้าออก ถูกเปลี่ยนต้นทาง-ปลายทาง จากธนบุรีเป็นบางกอกน้อย (เหมือนเมื่อครั้งแรกก่อตั้งทางรถไฟหลวงสายใต้) แต่ต่อมา ในวันที่ 1 มกราคม 2547 รฟท.ได้เปลี่ยนชื่อสถานีบางกอกน้อยที่เป็นอาคารสร้างใหม่นั้นไปใช้ชื่อว่าสถานีธนบุรี และใช้คำย่อ ธบ. พร้อมทั้งยกฐานะจากสถานีชั้น 4 ขึ้นเป็นสถานีชั้น 1 เหมือนครั้งก่อนที่จะเลิกใช้อาคารสถานีธนบุรีแห่งเดิม ทำให้บทบาทของสถานีธนบุรีกลับมาอีกครั้งตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา โดยใช้ที่ทำการใหม่คืออาคารสถานีบางกอกน้อยที่สร้างใหม่เมื่อประมาณปี 2542 นั้นเอง

สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจของสถานีธนบุรี คือเรื่องระบบอาณัติสัญญาณ โดยสถานีธนบุรี เป็นสถานีรถไฟแห่งเดียวในกรุงเทพฯ ในปัจจุบันนี้ ที่ยังคงใช้สัญญาณประจำที่ ชนิดหางปลา (ปัจจุบันสัญญาณหางปลายกเลิกการใช้งานแล้ว แต่ยังคงตั้งอยู่) นอกจากนี้ บริเวณใกล้เคียง ยังมี โรงรถจักรธนบุรี ซึ่งเป็นสถานีบำรุงรักษา-ซ่อมแซมรถจักรดีเซลที่สำคัญแห่งหนึ่งของการรถไฟฯ และยังเป็นที่เก็บรักษารถจักรไอน้ำที่เหลืออยู่ของการรถไฟฯ ซึ่งยังคงใช้การได้อีก 5 คัน ซึ่งได้มีการนำมาวิ่งลากจูง ขบวนรถพิเศษในโอกาสสำคัญ ๆ อยู่เป็นประจำ

ขบวนรถไฟ

ปัจจุบัน มีขบวนรถไฟสายใต้ เข้า-ออกสถานีรถไฟธนบุรี ดังนี้

เที่ยวไป

เที่ยวกลับ

อ้างอิง

  1. http://www.oknation.net/blog/nukpan/2010/08/01/entry-1 รถไฟสายใต้ ช่วงแรกจากบางกอกน้อยถึงเพชรบุรี