ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอสอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 68: บรรทัด 68:
===โรงพยาบาล===
===โรงพยาบาล===
===สถานีอนามัย===
===สถานีอนามัย===
<ref>http://203.157.6.200/allclinic/mapandreport/ampur.asp?ampurid=06&provinceid=54&ketid=9&off_type=03</ref>
<ref>http://203.157.6.200/allclinic/mapandreport/ampur.asp?ampurid=06&provinceid=54&ketid=9&off_type=03</ref>มีสถานีอนามัยประจำตำบล และประจำหมู่บ้าน
*สถานีอนามัยแดนชุมพล
*สถานีอนามัยแดนชุมพล
*สถานีอนามัยตำบลเตาปูน
*สถานีอนามัยตำบลเตาปูน
บรรทัด 75: บรรทัด 75:
*สถานีอนามัยตำบลห้วยหม้าย
*สถานีอนามัยตำบลห้วยหม้าย
*สถานีอนามัยตำบลหัวเมือง
*สถานีอนามัยตำบลหัวเมือง
*บ้านทุ่งน้าว
*สถานีอนามัยบ้านทุ่งน้าว
*บ้านนาไร่เดียว
*สถานีอนามัยบ้านนาไร่เดียว
*บ้านนาหลวง
*สถานีอนามัยบ้านนาหลวง
*บ้านป่าเลา
*สถานีอนามัยบ้านป่าเลา
*บ้านลูนิเกตุ
*สถานีอนามัยบ้านลูนิเกตุ
*บ้านวังดิน ตำบลบ้านกลาง
*สถานีอนามัยบ้านวังดิน ตำบลบ้านกลาง
*บ้านวังฟ่อน
*สถานีอนามัยบ้านวังฟ่อน
*บ้านห้วยขอน
*สถานีอนามัยบ้านห้วยขอน
*หนองเสี้ยว ตำบลหัวเมือง
*สถานีอนามัยหนองเสี้ยว ตำบลหัวเมือง


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:04, 24 พฤศจิกายน 2553

อำเภอสอง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Song
คำขวัญ: 
แก่งเสือเต้นอ่างแม่สอง สักทองหัตถศิลป์สืบสาน นางสิบสองเพื่อนแพงแหล่งตำนาน เมืองอุทยานลิลิตพระลอ
พิกัด: แม่แบบ:Coor dms
ประเทศ ไทย
จังหวัดแพร่
พื้นที่
 • ทั้งหมด1,624.5 ตร.กม. (627.2 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2552)
 • ทั้งหมด52,077 คน
 • ความหนาแน่น32.05 คน/ตร.กม. (83.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 54120
รหัสภูมิศาสตร์5406
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอสอง ถนนปู่เจ้าสมิงพราย ตำบลบ้านกลาง อำเภอสอง จังหวัดแพร่ 54120
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอสอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร่

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอสองตั้งอยู่ทางทิศเหนือสุดและมีพื้นที่มากที่สุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ

อำเภอสองเป็นภูมิประเทศที่เป็นภูเขาและป่าไม้ประมาณร้อยละ70 ของพื้นที่ ตัวอำเภอมีความสูงประมาณ 180 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยจุดสูงที่สุดอยู่ที่บริเวณดอยหลวง(อยู่ในตำบลสะเอียบ จุดแบ่งเขตแดนระหว่างจังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน)สูงประมาณ 1,300 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง

เนื่องจากอำเภอสองตั้งอยู่ในภูมิประเทศที่มีภูเขาล้อมรอบทำให้ฤดูร้อนจะมีอากาศร้อนอบอ้าว อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 35-40 องศาเซลเซียส และฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด อุณหภูมิต่ำสุดในแต่ละปีประมาณ 5-10 องศาเซลเซียส ส่วนฤดูฝนจะมีฝนเฉลี่ยต่อปี ประมาณ 1,000 - 1,500 มิลลิเมตร

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอสองแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 8 ตำบล 80 หมู่บ้าน ได้แก่

1. บ้านหนุน (Ban Nun) 11 หมู่บ้าน
2. บ้านกลาง (Ban Klang) 12 หมู่บ้าน
3. ห้วยหม้าย (Huai Mai) 17 หมู่บ้าน
4. เตาปูน (Tao Pun) 12 หมู่บ้าน
5. หัวเมือง (Hua Mueang) 08 หมู่บ้าน
6. สะเอียบ (Sa-iap) 10 หมู่บ้าน
7. แดนชุมพล (Daen Chumphon) 04 หมู่บ้าน
8. ทุ่งน้าว (Thung Nao) 06 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอสองประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 9 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลสอง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลบ้านหนุนและบางส่วนของตำบลบ้านกลาง
  • เทศบาลตำบลห้วยหม้าย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลห้วยหม้ายทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหนุน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านหนุน (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลสอง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านกลาง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลสอง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเตาปูน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเตาปูนทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหัวเมืองครอบคลุมพื้นที่ตำบลหัวเมืองทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลสะเอียบ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสะเอียบทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลแดนชุมพล ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแดนชุมพลทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งน้าว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทุ่งน้าวทั้งตำบล

การศึกษา

  • ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตำบลหัวเมือง[1]

สถานพยาบาล

โรงพยาบาล

สถานีอนามัย

[2]มีสถานีอนามัยประจำตำบล และประจำหมู่บ้าน

  • สถานีอนามัยแดนชุมพล
  • สถานีอนามัยตำบลเตาปูน
  • สถานีอนามัยตำบลบ้านหนุน
  • สถานีอนามัยตำบลสะเอียบ
  • สถานีอนามัยตำบลห้วยหม้าย
  • สถานีอนามัยตำบลหัวเมือง
  • สถานีอนามัยบ้านทุ่งน้าว
  • สถานีอนามัยบ้านนาไร่เดียว
  • สถานีอนามัยบ้านนาหลวง
  • สถานีอนามัยบ้านป่าเลา
  • สถานีอนามัยบ้านลูนิเกตุ
  • สถานีอนามัยบ้านวังดิน ตำบลบ้านกลาง
  • สถานีอนามัยบ้านวังฟ่อน
  • สถานีอนามัยบ้านห้วยขอน
  • สถานีอนามัยหนองเสี้ยว ตำบลหัวเมือง

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น