ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟธนบุรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clarin (คุย | ส่วนร่วม)
ยุกตนันท์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
''ดูเพิ่มที่ [[สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)]]''
''ดูเพิ่มที่ [[สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)]]''


'''สถานีรถไฟธนบุรี''' หรือเดิมเรียกว่า '''สถานีรถไฟบางกอกน้อย''' ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก
'''สถานีรถไฟธนบุรี''' หรือเดิมเรียกว่า '''สถานีรถไฟบางกอกน้อย''' ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก [[สถานีรถไฟบางกอกน้อย]] เปิดเมื่อ [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2446]] โดยมีสถานีต้นทางอยู่[[สถานีรถไฟบางกอกน้อย]] ปลายทางไปที่[[สถานีรถไฟเพชรบุรี]] <ref>http://www.oknation.net/blog/nukpan/2010/08/01/entry-1 รถไฟสายใต้ ช่วงแรกจากบางกอกน้อยถึงเพชรบุรี</ref>


ก่อนวันที่ 4 ตุลาคม 2536 สถานีนี้เป็นสถานีลำดับที่สองของรถไฟสายตะวันตกและสายใต้ โดยมีสถานีต้นทางอยู่ที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) (ปัจจุบันคือสถานีบางกอกน้อย) แต่หลังจากที่การรถไฟแห่งประเทศไทยโดยกระทรวงคมนาคม ได้ลงนามมอบพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ให้กับโรงพยาบาลศิริราชแล้ว (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ [[สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)]]) จึงใช้สถานีรถไฟบางกอกน้อยเป็นต้นทางรถไฟสายใต้และสายตะวันตก และภายหลัง [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]ได้ทำการสลับชื่อระหว่างสถานีรถไฟธนบุรี(เดิม) (อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา) กับสถานีรถไฟบางกอกน้อย(เดิม) (บริเวณบ้านเนิน) เป็นสถานีรถไฟธนบุรี(ใหม่) (บ้านเนิน) เป็นสถานีชั้น 1 เฉกเช่นเดียวกับสถานีธนบุรีแห่งเดิม และสถานีรถไฟบางกอกน้อย (ใหม่) (ริมแม่น้ำเจ้าพระยา)
ก่อนวันที่ 4 ตุลาคม 2536 สถานีนี้เป็นสถานีลำดับที่สองของรถไฟสายตะวันตกและสายใต้ โดยมีสถานีต้นทางอยู่ที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) (ปัจจุบันคือสถานีบางกอกน้อย) แต่หลังจากที่การรถไฟแห่งประเทศไทยโดยกระทรวงคมนาคม ได้ลงนามมอบพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ให้กับโรงพยาบาลศิริราชแล้ว (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ [[สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)]]) จึงใช้สถานีรถไฟบางกอกน้อยเป็นต้นทางรถไฟสายใต้และสายตะวันตก และภายหลัง [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]ได้ทำการสลับชื่อระหว่างสถานีรถไฟธนบุรี(เดิม) (อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา) กับสถานีรถไฟบางกอกน้อย(เดิม) (บริเวณบ้านเนิน) เป็นสถานีรถไฟธนบุรี(ใหม่) (บ้านเนิน) เป็นสถานีชั้น 1 เฉกเช่นเดียวกับสถานีธนบุรีแห่งเดิม และสถานีรถไฟบางกอกน้อย (ใหม่) (ริมแม่น้ำเจ้าพระยา)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:15, 3 กันยายน 2553

ธนบุรี
Thonburi
กิโลเมตรที่ 0.87

แม่แบบ:รถไฟทางตรง แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ

สถานีรถไฟธนบุรี
แม่แบบ:Coor box

ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)

สถานีรถไฟธนบุรี หรือเดิมเรียกว่า สถานีรถไฟบางกอกน้อย ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก สถานีรถไฟบางกอกน้อย เปิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 โดยมีสถานีต้นทางอยู่สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปลายทางไปที่สถานีรถไฟเพชรบุรี [1]

ก่อนวันที่ 4 ตุลาคม 2536 สถานีนี้เป็นสถานีลำดับที่สองของรถไฟสายตะวันตกและสายใต้ โดยมีสถานีต้นทางอยู่ที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) (ปัจจุบันคือสถานีบางกอกน้อย) แต่หลังจากที่การรถไฟแห่งประเทศไทยโดยกระทรวงคมนาคม ได้ลงนามมอบพื้นที่สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ให้กับโรงพยาบาลศิริราชแล้ว (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)) จึงใช้สถานีรถไฟบางกอกน้อยเป็นต้นทางรถไฟสายใต้และสายตะวันตก และภายหลัง การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ทำการสลับชื่อระหว่างสถานีรถไฟธนบุรี(เดิม) (อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา) กับสถานีรถไฟบางกอกน้อย(เดิม) (บริเวณบ้านเนิน) เป็นสถานีรถไฟธนบุรี(ใหม่) (บ้านเนิน) เป็นสถานีชั้น 1 เฉกเช่นเดียวกับสถานีธนบุรีแห่งเดิม และสถานีรถไฟบางกอกน้อย (ใหม่) (ริมแม่น้ำเจ้าพระยา)

สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจของสถานีธนบุรี คือเรื่องระบบอาณัติสัญญาณ โดยสถานีธนบุรี เป็นสถานีรถไฟแห่งเดียวในกรุงเทพฯ ในปัจจุบันนี้ ที่ยังคงใช้สัญญาณประจำที่ ชนิดหางปลา นอกจากนี้ บริเวณใกล้เคียง ยังมี โรงรถจักรธนบุรี ซึ่งเป็นสถานีบำรุงรักษา-ซ่อมแซมรถจักรดีเซลที่สำคัญแห่งหนึ่งของการรถไฟฯ และยังเป็นที่เก็บรักษารถจักรไอน้ำที่เหลืออยู่ของการรถไฟฯ ซึ่งยังคงใช้การได้อีก 5 คัน ซึ่งได้มีการนำมาวิ่งลากจูง ขบวนรถพิเศษในโอกาสสำคัญๆต่างอยู่เป็นประจำ

ขบวนรถไฟ

ปัจจุบัน มีขบวนรถไฟสายใต้ เข้า-ออกสถานีรถไฟธนบุรี ดังนี้

เที่ยวไป

เที่ยวกลับ

ข้อมูลจำเพาะ

  • ชื่อภาษาไทย  : ธนบุรี
  • ชื่อภาษาอังกฤษ : Thonburi
  • ชื่อย่อภาษาไทย : ธบ.
  • ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : TBR
  • ชั้นสถานี  : สถานีชั้น 4
  • ระบบอาณัติสัญญาณ : หางปลา (แห่งเดียวในกรุงเทพฯ)
  • พิกัดที่ตั้ง  : กม.ที่ 0+866 (นับจากสถานีธนบุรีแห่งเดิม) แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700


  1. http://www.oknation.net/blog/nukpan/2010/08/01/entry-1 รถไฟสายใต้ ช่วงแรกจากบางกอกน้อยถึงเพชรบุรี