ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากอกบอรอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
{{ทิเบต-พม่า}}
{{ทิเบต-พม่า}}
{{ภาษาราชการอินเดีย}}
{{ภาษาราชการอินเดีย}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย|กอกโบรอก]]
[[หมวดหมู่:ภาษากอกบอรอก]]

[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศบังกลาเทศ|กอกโบรอก]]


[[de:Kokborok]]
[[de:Kokborok]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:03, 8 เมษายน 2551

ภาษากอกบอรอก
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย และ บังกลาเทศ
ภูมิภาครัฐตริปุระ รัฐอัสสัม รัฐมิโซรัม และประเทศบังกลาเทศ
จำนวนผู้พูด800,000 658,000 ในอินเดีย(2537); 105,000 ในบังกลาเทศ(2536)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรกอลอมา (เลิกใช้) อักษรเบงกาลี อักษรละติน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการตรีปุระ (อินเดีย)
รหัสภาษา
ISO 639-2sit
ISO 639-3trp

ภาษากอกบอรอก เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐตรีปุระ และบริเวณใกล้เคียงในบังกลาเทศ เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกโบรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกบอรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”

ประวัติ

ภาษากอกบอรอกเริ่มปรากฏในหลากหลายรูปแบบตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6 เมื่อเริ่มมีพงศาวดารของกษัตริย์ตรีปุระ ซึ่งมีชื่อเรียกว่าราชรัตนกิจ เขียนด้วยภาษากอกบอรอก อักษรที่ใช้เขียนภาษากอกบอรอกเรียกว่าอักษรกอลอมา ผู้เขียนคือ คุรลอเบนดรา ชอนไต

ในเวลาต่อมา มีพราหมณ์ 2 คน คือ สุเกรสวัร และวเนศวัร ได้แปลพงศาวดารนี้เป็นภาษาสันสกฤตและแปลต่อเป็นภาษาเบงกาลีเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ส่วนฉบับเดิมที่เขียนด้วยภาษากอกบอรอกสูญหายไป ภาษากอกบอรอกถูกลดฐานะเป็นเพียงภาษาทั่วไปของสามัญชนตลอดสมัยราชอาณาจักรตรีปุระ ในขณะที่ภาษาเบงกาลีเป็นภาษาราชการตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-25 ภาษากอกบอรอกเป็นภาษาราชการของรัฐตรีปุระเมื่อ พ.ศ. 2522 ปัจจุบันถือเป็นภาษาประจำชาติภาษาหนึ่งของอินเดีย

ไวยากรณ์

บทความหลัก:ไวยากรณ์ภาษากอกบอรอก

ตัวเลข

มีทั้งเลขฐาน 10 และเลขฐาน 20 การนับเลขได้แก่

sa = 1; nwi = 2; tham = 3; brwi = 4; ba = 5; dok = 6; sni = 7; char = 8; chuku =9; chi = 10; rasa = 100; saisa = 1,000 rwjag = 100,000; chisa = 10 + 1 = 11