ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการใช้คำ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
'''พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2'''<ref name="ลาว">สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. ''ลำดับกษัตริย์ลาว''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2545, หน้า 219</ref> หรือ '''พระไชยองค์เว้'''<ref name="ลาว"/> เป็นพระราชโอรสของ[[เจ้าชมพู]] ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมือง[[เว้]] พระองค์ได้ครองราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้[[เจ้าองค์ลอง]] พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมือง[[หลวงพระบาง]] และอัญเชิญ[[พระบาง]]มาประดิษฐานที่เวียงจันทน์
'''พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2'''<ref name="ลาว">สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. ''ลำดับกษัตริย์ลาว''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2545, หน้า 219</ref> หรือ '''พระไชยองค์เว้'''<ref name="ลาว"/> เป็นพระราชโอรสของ[[เจ้าชมพู]] ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมือง[[เว้]] พระองค์ได้ครองราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้[[เจ้าองค์ลอง]] พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมือง[[หลวงพระบาง]] และอัญเชิญ[[พระบาง]]มาประดิษฐานที่เวียงจันทน์


ต่อมาใน พ.ศ. 2249 [[เจ้ากิ่งกิสราช]]ซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตรและเป็นหลานปู่ของ[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] ที่ลี้ภัยไปอยู่[[สิบสองปันนา]]กับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์ เจ้ากิ่งกิสราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชจึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย
ต่อมาใน พ.ศ. 2249 [[เจ้ากิ่งกิสราช]]ซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตร และเป็นหลานปู่ของ[[พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช]] ที่ลี้ภัยไปอยู่[[สิบสองปันนา]]กับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์ เจ้ากิ่งกิสราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 จึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย


[[สมเด็จพระเพทราชา]] กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิสราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่2ครองเวียงจันทน์ ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้[[แม่น้ำเหือง]]เป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน แคว้น[[สิบสองจุไท]]กับ[[หัวพันห้าทั้งหก]]ขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้น[[เชียงขวาง]]และแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250
[[สมเด็จพระเพทราชา]] กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิสราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองเวียงจันทน์ ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้[[แม่น้ำเหือง]]เป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน แคว้น[[สิบสองจุไท]]กับ[[หัวพันห้าทั้งหก]]ขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้น[[เชียงขวาง]]และแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250


หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิสราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ ทำให้กลุ่มของ[[พระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก]] ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมือง[[จำปาศักดิ์]] และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน
หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิสราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ ทำให้กลุ่มของ[[พระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก]] ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมือง[[จำปาศักดิ์]] และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน


พระราชธิดาพระองค์หนึ่งในพระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 พระนามว่า ''"[[พระกรัดนางกัลยาณี]]"'' ทรงเป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายใน[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8]] แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]
พระราชธิดาพระองค์หนึ่งในพระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 พระนามว่า ''"[[พระกรัดนางกัลยาณี]]"'' ทรงเป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายใน[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8]] แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:16, 24 มิถุนายน 2565

พระไชยองค์เว้
ພຣະເຈົ້າໄຊອົງເວ້
พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2
กษัตริย์แห่งล้านช้าง
ครองราชย์ค.ศ. 1700-1707
ก่อนหน้าเจ้านันทราช
ถัดไปในฐานะกษัตริย์องค์แรกแห่งอาณาจักรเวียงจันทน์
กษัตริย์แห่งเวียงจันทน์
ครองราชย์ค.ศ. 1707-1735
ก่อนหน้าในฐานะกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรล้านช้าง
ถัดไปเจ้าองค์ลอง
ประสูติค.ศ. 1685
อำเภอ Hội Nguyên, Đàng Ngoài, Đại Việt
(ปัจจุบันอยู่ในอำเภอ Con Cuông, จังหวัดเหงะอาน, ประเทศเวียดนาม)
สวรรคตค.ศ. 1735
เวียงจันทน์
พระราชบุตรเจ้าองค์ลอง
Ong Bun
Khuang-Na
พระเจ้าสรศักดิ์
พระนามเต็ม
ไชยเชษฐาธิราชที่ 2

พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2[1] หรือ พระไชยองค์เว้[1] เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมืองเว้ พระองค์ได้ครองราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้เจ้าองค์ลอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมืองหลวงพระบาง และอัญเชิญพระบางมาประดิษฐานที่เวียงจันทน์

ต่อมาใน พ.ศ. 2249 เจ้ากิ่งกิสราชซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตร และเป็นหลานปู่ของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ที่ลี้ภัยไปอยู่สิบสองปันนากับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์ เจ้ากิ่งกิสราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 จึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย

สมเด็จพระเพทราชา กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิสราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองเวียงจันทน์ ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้แม่น้ำเหืองเป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน แคว้นสิบสองจุไทกับหัวพันห้าทั้งหกขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้นเชียงขวางและแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250

หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิสราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ ทำให้กลุ่มของพระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมืองจำปาศักดิ์ และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน

พระราชธิดาพระองค์หนึ่งในพระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 พระนามว่า "พระกรัดนางกัลยาณี" ทรงเป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายในสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยา

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. ลำดับกษัตริย์ลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2545, หน้า 219
  • มหาบุนมี เทบสีเมือง. ความเป็นมาของชนชาติลาว เล่ม 2 อาณาจักรลาวล้านช้างตอนต้น. แปลโดย ไผท ภูธา. กทม. สุขภาพใจ. 2554. หน้า 354 - 356
  • มหาบุนมี เทบสีเมือง. ความเป็นมาของชนชาติลาว เล่ม 3 อาณาจักรลาวล้านช้างตอนปลายและการก่อตั้งสปป.ลาว. แปลโดย ไผท ภูธา. กทม. สุขภาพใจ. 2556. หน้า50 -57