ไฮโดรเจนไซยาไนด์
แม่แบบ:Chembox HenryConstant
ไฮโดรเจนไซยาไนด์ | |
---|---|
![]() | |
ชื่อตาม IUPAC | |
ชื่ออื่น |
|
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [74-90-8][CAS] |
PubChem | |
EC number | |
UN number | 1051 |
KEGG | |
MeSH | |
ChEBI | |
RTECS number | MW6825000 |
SMILES | |
ChemSpider ID | |
3DMet | B00275 |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | HCN |
มวลต่อหนึ่งโมล | 27.0253 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวใสหรือก๊าซไม่มีสี |
กลิ่น | คล้ายอัลมอนด์[ต้องการอ้างอิง] |
ความหนาแน่น | 0.6876 g/cm3[3] |
จุดหลอมเหลว |
-13.29 °C, 260 K, 8 °F |
จุดเดือด |
26 °C, 299 K, 79 °F |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | ผสมเข้ากันได้ |
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล | ผสมเข้ากันได้ |
ความดันไอ | 100 kPa (25 °C)[3]:6.94 |
pKa | 9.21 (ในน้ำ),
12.9 (ใน DMSO)[4] |
Basicity (pKb) | 4.79 (ไซยาไนดประจุลบ) |
ดัชนีหักเหแสง (nD) | 1.2675[5] |
ความหนืด | 0.183 mPa·s (25 °C)[3]:6.231 |
โครงสร้าง | |
รูปร่างโมเลกุล | เส้นตรง |
Dipole moment | 2.98 D |
อุณหเคมี | |
Std enthalpy of formation ΔfH |
135.1 kJ mol−1 |
Standard molar entropy S |
201.8 J K−1 mol−1 |
ความจุความร้อนจำเพาะ | 35.9 J K−1 mol−1 (gas)[3]:5.19 |
ความอันตราย | |
GHS pictograms | ![]() ![]() ![]() ![]() |
NFPA 704 | |
Explosive limits | 5.6% – 40.0%[6] |
U.S. Permissible exposure limit (PEL) |
TWA 10 ppm (11 mg/m3) [ผิวหนัง][6] |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอลเคนไนทรีลที่เกี่ยวข้อง
|
|
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (อังกฤษ: Hydrogen cyanide, สูตรเคมี HCN) เป็นก๊าซซึ่งก่อให้เกิดอาการไอ มีเสมหะ และหลอดลมอักเสบเรื้อรัง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ และคลื่นไส้อาเจียน เป็นก๊าซพิษที่ใช้ในสงคราม นอกจากนี้สารไนเทรตในบุหรี่ทำให้เกิดไฮโดรเจนไซยาไนด์ สารนี้เป็นตัวสกัดกั้นเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการหายใจหลายตัว ทำให้เกิดความผิดปกติของการเผาผลาญพลังงานที่กล้ามเนื้อหัวใจและที่ผนังหลอดเลือด
คุณสมบัติทางเคมี[แก้]
ไฮโดรเจนไซยาไนด์จะทำปฏิกิริยากับแอลคีนด้วยการเร่งปฏิกิริยาของสารประกอบนิกเกิล ปฏิกิริยานี้มีชื่อเรียกว่า hydrocyanation[7]
- RCH=CH2 + HCN → RCH2-CH2-CN
โมเลกุล HCN สี่อันจะผ่านการ tetramerize เป็นdiaminomaleonitrile ซึ่งสามารถแปลงเป็นพิวรีนได้หลายชนิด[8]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Hydrogen Cyanide – Compound Summary". PubChem Compound. United States: National Center for Biotechnology Information. 16 September 2004. Identification. สืบค้นเมื่อ 2012-06-04.
- ↑ "hydrogen cyanide (CHEBI:18407)". Chemical Entities of Biological Interest. UK: European Bioinformatics Institute. 18 October 2009. Main. สืบค้นเมื่อ 2012-06-04.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. ISBN 978-1439855119.
- ↑ Evans DA. "pKa's of Inorganic and Oxo-Acids" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-09. สืบค้นเมื่อ June 19, 2020.
- ↑ Patnaik P (2002). Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill. ISBN 978-0070494398.
- ↑ 6.0 6.1 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0333". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Leeuwen, P. W. N. M. van (2004). Homogeneous catalysis : understanding the art. Dordrecht: Kluwer Academic Publishers. ISBN 1402019998. OCLC 54966334.
- ↑ Bray, D; Robbins, P (1967). "Mechanism of ε15 conversion studied with bacteriophage mutants". Journal of Molecular Biology. Elsevier BV. 30 (2): 457–475. doi:10.1016/s0022-2836(67)80037-8. ISSN 0022-2836.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- Institut national de recherche et de sécurité (1997). "Cyanure d'hydrogène et solutions aqueuses". Fiche toxicologique n° 4, Paris:INRS, 5pp. (PDF file, in French)
- International Chemical Safety Card 0492
- Hydrogen cyanide and cyanides (CICAD 61)
- National Pollutant Inventory: Cyanide compounds fact sheet
- NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards
- Department of health review
- Density of Hydrogen Cyanide gas
เกลือและอนุพันธ์โคเวเลนต์ของไซยาไนด์ไอออน | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
HCN | He | ||||||||||||||||||
LiCN | Be(CN)2 | B | C | NH4CN | OCN−, -NCO |
FCN | Ne | ||||||||||||
NaCN | Mg(CN)2 | Al(CN)3 | SiCN | P(CN)3 | SCN−, -NCS, (SCN)2, S(CN)2 |
ClCN | Ar | ||||||||||||
KCN | Ca(CN)2 | Sc(CN)3 | Ti(CN)4 | VO(CN)3 | Cr(CN)3 | Mn(CN)2 | Fe(CN)3, Fe(CN)64+, Fe(CN)63+ |
Co(CN)2, Co(CN)3 |
Ni(CN)2 Ni(CN)42− |
CuCN | Zn(CN)2 | Ga(CN)3 | Ge | As(CN)3 | SeCN− (SeCN)2 Se(CN)2 |
BrCN | Kr | ||
RbCN | Sr(CN)2 | Y(CN)3 | Zr(CN)4 | Nb | Mo | Tc | Ru | Rh | Pd(CN)2 | AgCN | Cd(CN)2 | In(CN)3 | Sn | Sb | Te(CN)2, Te(CN)4 |
ICN | XeCN | ||
CsCN | Ba(CN)2 | Hf | Ta | W | Re | Os | Ir | Pt | Au | Hg2(CN)2, Hg(CN)2 |
TlCN | Pb(CN)2 | Bi(CN)3 | Po | At | Rn | |||
Fr | Ra | Rf | Db | Sg | Bh | Hs | Mt | Ds | Rg | Cn | Nh | Fl | Mc | Lv | Ts | Og | |||
↓ | |||||||||||||||||||
La | Ce(CN)3, Ce(CN)4 |
Pr | Nd | Pm | Sm | Eu | Gd(CN)3 | Tb | Dy | Ho | Er | Tm | Yb | Lu | |||||
Ac | Th | Pa | UO2(CN)2 | Np | Pu | Am | Cm | Bk | Cf | Es | Fm | Md | No | Lr |
![]() |
บทความเกี่ยวกับเคมีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี |