กรดโครมิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรดโครมิก
Structural formulae of dichromic acid (left) and chromic acid (right)
ชื่อตาม IUPAC Chromic acid
ชื่อเรียกตามระบบ Dihydroxidodioxidochromium
ชื่ออื่น Chromic(VI) acid
Tetraoxochromic acid
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [7738-94-5][CAS]
PubChem 24425
EC number 231-801-5
ChEBI 33143
SMILES
 
InChI
 
Gmelin Reference 25982
ChemSpider ID 22834
คุณสมบัติ
สูตรเคมี H2CrO4

or H2Cr2O 7

ลักษณะทางกายภาพ Dark red crystals
ความหนาแน่น 1.201 g cm−3
จุดหลอมเหลว

197 °C, 470 K, 387 °F

จุดเดือด

250 °C, 523 K, 482 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 169 g/100 mL
pKa -0.8 to 1.6
ความอันตราย
การจำแนกของ EU a very toxic substance such as snake venom there is a dose below which there is no detectable toxic effect. T+Corrosive CIrritant XiOxidizing Agent ODangerous for the Environment (Nature) N
อันตรายหลัก highly toxic, carcinogen, corrosive
NFPA 704
NFPA 704.svg
0
4
1
 
U.S. Permissible
exposure limit (PEL)
TWA 0.005 mg/m3[2]
LD50 51.9 mg/kg (H2CrO4·2Na, rat, oral)[1]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

กรดโครมิก (Chromic acid) เป็นกรดออกโซของโครเมียม มีสูตรทางเคมีคือ H2CrO4 สอดคล้องกับการเพิ่มน้ำหนึ่งโมเลกุลเข้าไปในโครเมียมไตรออกไซด์ สารนี้เป็นพิษอย่างมากเพราะมีไอออนโครเมต สามารถสร้างได้จากการทำปฏิกิริยาโครเมตหรือไดโครเมตกับกรดหรือทำปฏิกิริยาโครเมียม(IV) ออกไซด์กับกรดซัลฟูริก ใช้ในการออกซิไดซ์สารเคมีหลายชนิด เช่นแอลกอฮอล์ และใช้ในการทำโครมิลคลอไรด์

อ้างอิง[แก้]

  1. "Chromic acid and chromates". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0138". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).