ข้ามไปเนื้อหา

ความหนืด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Viscosity
หน่วยการวัด (SI): Pa s = kg / (s m)
สัญลักษณ์ที่มักจะใช้: μ
Expressed in other quantities: μ = G · t
กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง
สมการนาเวียร์-สโตกส์

ความหนืด คือค่าบ่งชี้คุณสมบัติความต้านทานการไหลในตัวของไหล ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนรูปจากการกระทำของความเค้นเฉือนหรือความเค้นภายนอก ความหนืดนี้อธิบายถึงความสามารถในการต้านทานการไหลภายในตัวของไหล และอาจจะถูกพิจารณาให้เป็นตัวชี้วัดความเสียดทานของไหลได้ ยิ่งของไหลมีความหนืดต่ำมากเท่าไร มันก็จะยิ่งมีความสามรถในการเปลี่ยนรูปได้มากเท่านั้นสำหรับคำเรียกใช้โดยทั่วไป อาจจะใช้คำว่า "ความหนา" ตัวอย่างเช่น น้ำ ที่มีความหนืดต่ำอาจจะถูกเรียกว่า "บาง" ในขณะที่น้ำผึ้งซึ่งมีความหนืดสูงนั้นอาจจะถูกเรียกว่า "หนา" สำหรับของไหลในความเป็นจริงนั้น (ยกเว้น ซูเปอร์ฟลูอิด) จะมีค่าความหนืดในตัว แต่อย่างไรก็ตาม ในทางอุดมคติ ของไหลอาจจะถุกสมมติให้ไร้ความหนืด เรียกว่า ของไหลในอุดมคติ หรือ ของไหลไร้ความหนืด สำหรับวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับของไหลคือ วิทยาศาสตร์การไหล

ที่มาของคำ

[แก้]

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Massey, B. S. (1983). Mechanics of Fluids (Fifth ed.). Van Nostrand Reinhold (UK). ISBN 0-442-30552-4.
  • R Btron Bird & Warren E Stewart & Edwin N Lightfoot (1960). Transport Phenomena. John Wiley & Sons.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]