กรดฟอสฟอริก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรดฟอสฟอริก
Phosphoric acid
Phosphoric acid
ชื่อตาม IUPAC trihydroxidooxidophosphorus
phosphoric acid
ชื่ออื่น Orthophosphoric acid
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [7664-38-2][CAS],
16271-20-8 (hemihydrate)
PubChem 1004
EC number 231-633-2
UN number 1805
KEGG D05467
RTECS number TB6300000
SMILES
 
InChI
 
ChemSpider ID 979
คุณสมบัติ
สูตรเคมี H3PO4
มวลต่อหนึ่งโมล 98.00 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ white solid or colourless, viscous liquid (>42 °C)
ความหนาแน่น 1.885 g/mL (liquid)
1.685 g/mL (85 % solution)
2.030 g/mL (crystal at 25 °C)
จุดหลอมเหลว

42.35 °C (anhydrous)
29.32 °C (hemihydrate)

จุดเดือด

158 °C (decomp)

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 5.48 g/mL
pKa 2.148, 7.198, 12.375
ความหนืด 2.4–9.4 cP (85% aq. soln.)
147 cP (100 %)
ความอันตราย
MSDS ICSC 1008
การจำแนกของ EU Corrosive (C)
EU Index 015-011-00-6
NFPA 704
0
2
0
COR
R-phrases R34
S-phrases (S1/2) S26 S45
จุดวาบไฟ Non-flammable
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

กรดฟอสฟอริก (Phosphoric acid) เป็นกรดแร่ มีสูตรเคมี H3PO4 กรดฟอสฟอริกบริสุทธิ์จะอยู่ในรูปผลึกใส (มีจุดหลอมละลายที่ 42.35° C) แต่กรดฟอสฟอริกที่ความเข้มข้นและอุณหภูมิอื่น ๆ อาจพบในรูปของเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น สามารถละลายน้ำและแอลกอฮอล์ได้[1]

กรดฟอสฟอริกถูกใช้อย่างแพร่หลาย ทั้งในการผลิตสารพวกฟอสเฟต เช่น ผงซักฟอก สบู่ ปุ๋ย รวมถึงใช้ผสมเป็นวัสดุอุดฟัน จนถึง ถูกใช้เป็นส่วนผสมของน้ำอัดลม

อันตรายของกรดฟอสฟอริกหากได้รับโดยตรงในปริมาณที่มากพอทั้งจากการหายใจหรือสัมผัสทางผิวหนังก็สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้

บทความที่เกี่ยวข้อง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "กรดฟอสฟอริก จากกรมวิทยาศาสตร์บริการ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-02-12. สืบค้นเมื่อ 2011-02-14.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]