ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2543

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยพรีเมียร์ลีก
ฤดูกาล2543
ทีมชนะเลิศบีอีซี เทโรศาสน
ขนะเลิศไทยลีก สมัยแรก
ชนะเลิศลีกสูงสุด สมัยแรก
ตกชั้นไม่มี [1]
เอเชียน คลับ แชมเปียนส์ชิพ ฤดูกาล 2544/45บีอีซี เทโรศาสน
เอเชียน คัพ วินเนอร์ส คัพ ฤดูกาล 2544/45ทหารอากาศ
ผู้ทำประตูสูงสุดสุธี สุขสมกิจ
(ธนาคารกสิกรไทย) 16 ประตู
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
บีอีซี เทโรศาสน 5-0 สินธนา
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
ธนาคารกรุงไทย 0-6 บีอีซี เทโรศาสน
จำนวนประตูสูงสุดองค์การโทรศัพท์ฯ 3-6 กรุงเทพมหานคร (9 ประตู)
2542
2544/45

ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2543 หรือ คาลเท็กซ์พรีเมียร์ลีก 2543 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ คาลเท็กซ์ เป็นการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก ประกอบด้วย 12 สโมสร โดยทีมอันดับสุดท้ายจะตกชั้นไปเล่นใน ไทยลีกดิวิชัน 1 โดยอัตโนมัติ ส่วนทีมอับดับที่ 11 จะต้องไปเล่นเพลย์ออฟ ขึ้นชั้น/ตกชั้น กับ ทีมอันดับที่ 2 ของ ไทยลีกดิวิชัน 1 โดยในฤดูกาลนี้

สโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

การเปลื่ยนแปลงสโมสรที่เล่นในลีก[แก้]

ตกชั้นจาก ไทยลีก 2542

เลื่อนชั้นจาก ดิวิชั่น 1 2542

สนามเหย้าและที่ตั้ง[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ (โดยประมาณ)
ทหารอากาศ ปทุมธานี สนามกีฬาธูปะเตมีย์ 20,000
การท่าเรือฯ คลองเตย สนามกีฬาการท่าเรือแห่งประเทศไทย 3,000
บีอีซี เทโรศาสน หนองจอก สนามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 5,000
โอสถสภา ปทุมธานี สนามฟุตบอลหมู่บ้านธนารมณ์ 1,500
องค์การโทรศัพท์ฯ หลักสี่ สนามกีฬาองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย 2,500
สินธนา บึงกุ่ม สนามหมู่บ้านสินธนา 800
ธนาคารกรุงเทพ สวนหลวง สนาม สโมสรธนาคารกรุงเทพ 2,000
กรุงเทพมหานคร ดินแดง สนามไทย - ญี่ปุ่น ดินแดง 10,000
ธนาคารกสิกรไทย ปทุมวัน สนามเทพหัสดิน 6,378
ธนาคารกรุงไทย
ตำรวจ หลักสี่ สนามบุณยะจินดา 3,500
ราชนาวี สัตหีบ สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 5,000

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
ทหารอากาศ ไทย ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน เอฟบีที เบียร์สิงห์
การท่าเรือฯ ไทย ดาวยศ ดารา แกรนด์ สปอร์ต โค้ก
บีอีซี เทโรศาสน ไทย พิชัย ปิตุวงศ์ อาดิดาส บีอีซี
โอสถสภา ไทย ชัชชัย พหลแพทย์ แกรนด์ สปอร์ต เอ็มสปอร์ต
องค์การโทรศัพท์ฯ ไทย พงษ์พันธ์ วงษ์สุวรรณ อูลสปอร์ต ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ
สินธนา ไทย การุณ นาคสวัสดิ์ รีบอค ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ
ไทย สมบัติ ลีกำเนิดไทย
ธนาคารกรุงเทพ ไทย วิสูตร วิชายา แกรนด์ สปอร์ต ธนาคารกรุงเทพ, มาสเตอร์การ์ด
กรุงเทพมหานคร ไทย วิทยา เลาหกุล แพน ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ
ธนาคารกสิกรไทย ไทย ชาญวิทย์ ผลชีวิน ผลิตเองจากสโมสร ธนาคารกสิกรไทย
ธนาคารกรุงไทย ไทย อาริศ กุลสวัสดิ์ภักดี เดียดอร่า ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ
ตำรวจ ไทย ธัชชัย ปิตะนีละบุตร แกรนด์ สปอร์ต ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ
ราชนาวี ไทย สุรศักดิ์ ตังสุรัตน์ แกรนด์ สปอร์ต ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ

ตารางคะแนนเมื่อสิ้นสุดฤดูกาล[แก้]

อันดับ ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
1 บีอีซี เทโรศาสน (C, Q) 22 14 7 1 48 14 +34 49
2 ทหารอากาศ (Q) 22 12 5 5 34 19 +15 41
3 ธนาคารกสิกรไทย 22 10 7 5 33 25 +8 37
4 กรุงเทพมหานคร 22 9 8 5 39 29 +10 35
5 การท่าเรือฯ 22 8 6 8 18 21 -3 30
6 ราชนาวี 22 5 11 6 21 22 -1 26
7 ตำรวจ 22 6 8 8 25 27 -2 26
8 โอสถสภา 22 6 8 8 15 20 -5 26
9 ธนาคารกรุงเทพ 22 6 7 9 14 23 -9 25
10 ธนาคารกรุงไทย 22 6 3 13 21 40 -19 21
11 สินธนา 22 4 8 10 20 32 -12 20
12 องค์การโทรศัพท์ฯ 22 6 2 14 26 42 -16 20
ชนะเลิศและผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเชียน คลับ แชมเปียนส์ชิพ
ผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเชียน คัพ วินเนอร์ส คัพ
เพลย์ออฟ เลื่อนชั้น/ตกชั้น
ยุบสโมสร

รอบเพลย์ออฟ เลื่อนชั้น/ตกชั้น[แก้]

รอบเพลย์ออฟ เลื่อนชั้น[แก้]

สโมสรที่จบอันดับที่ 11 ต้องเล่น เพลย์ออฟ เลื่อนชั้น/ตกชั้น กับสโมสรรองชนะเลิศ ของ ดิวิชั่น 1 2543 โดย ผลการแข่งขันรวมสองนัด สินธนา ชนะ 3 - 2 ได้ลงเล่นใน ไทยลีก ฤดูกาลถัดไป

เกมแรก

เกมสอง

รอบเพลย์ออฟ หาสโมสรแข่งขันแทน[แก้]

ต่อมา สโมสรธนาคารกสิกรไทย ประกาศยุบสโมสร ทำให้ทีมอันดับสุดท้าย คือ สโมสรองค์การโทรศัพท์ฯ เล่นเพลย์ออฟ เพื่อหาสโมสรที่ 12 มาแข่งขันในลีก [2] โดยผลการแข่งขันรวมสองนัด องค์การโทรศัพท์ฯ ชนะ 4 - 0 ได้ลงเล่นใน ไทยลีก แทนที่ ธนาคารกสิกรไทย ที่ประกาศยุบสโมสรและถอนทีมออกจากการแข่งขัน


เกมแรก

เกมสอง

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

16 ประตู[3]

15 ประตู

10 ประตู

8 ประตู

7 ประตู

6 ประตู

5 ประตู

รางวัลประจำฤดูกาล[แก้]

ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยมประจำปี[แก้]

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำปี[แก้]

ภาพรวมหลังจากการแข่งขัน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. https://web.archive.org/web/20080921231705/http://www.fat.or.th/web/tpl2000.php การแข่งขันไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก ปี 2000 - เว็บไซต์เก่าสมาคมฟุตบอลฯ
  2. https://web.archive.org/web/20080921231705/http://www.fat.or.th/web/tpl2000.php การแข่งขันไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก ปี 2000 - เว็บไซต์เก่าสมาคมฟุตบอลฯ
  3. https://web.archive.org/web/20001214191500/http://www.scoretoday.com/league/Tha_Shot.html ดาวซัลโวคาลเท็กซ์ พรีเมียร์ลีก ถึงวันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2543 - scoretoday.com