ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัสเซีย
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอิตาลี เซร์คีโอ บูซาโต
อันดับเอฟไอวีบี– (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน10 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1968, 1972, 1980 และ 1988)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน16 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1952)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1952, 1956, 1960, 1970, 1990, 2006 และ 2010)
www.volley.ru (รัสเซีย)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย
เหรียญรางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เม็กซิโก ซิตี้ 1968 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ มิวนิก 1972 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ มอสโก 1980 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โซล 1988 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โตเกียว 1964 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มอนทรีออล 1976 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บาร์เซโลนา 1992 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ซิดนีย์ 2000 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เอเธนส์ 2004 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ สหภาพโซเวียต 1952 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฝรั่งเศส 1956 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บราซิล 1960 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บัลแกเรีย 1970 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ จีน 1990 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2006 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2010 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ สหภาพโซเวียต 1962 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1967 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เม็กซิโก 1974 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 สหภาพโซเวียต 1978 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บราซิล 1994 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1998 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เยอรมัน 2002 ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อุรุกวัย 1973 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1989 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1999 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1981 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1985 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1991 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 2019 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1997 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 2001 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1993 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โกเบ 1997 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ยู่ฉี่ 1999 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮ่องกง 2002 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮ่องกง 1998 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มะนิลา 2000 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อันเดรีย 2003 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ราจิโอ คาลาเบียร์ 2006 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โตเกียว 2009 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โอมาฮา 2015 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฮ่องกง 1993 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซี่ยงไฮ้ 1996 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มาเก๊า 2001 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เช็กสโลวาเกีย 1949 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บัลแกเรีย 1950 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฝรั่งเศส 1951 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เช็กสโลวาเกีย 1958 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โรมาเนีย 1963 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ตุรกี 1967 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อิตาลี 1971 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ยูโกสโลวาเกีย 1975 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฟินแลนด์ 1977 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฝรั่งเศส 1979 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เนเธอร์แลนด์ 1985 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เยอรมนีตะวันตก 1989 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อิตาลี 1991 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เช็ก 1993 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เช็ก 1997 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อิตาลี 1999 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บัลแกเรีย 2001 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เยอรมนี/สวิสเซอร์แลนด์ 2013 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โรมาเนีย 1955 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บัลแกเรีย 1981 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เยอรมนีตะวันออก 1983 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เบลเยียม 1987 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เนเธอร์แลนด์ 1995 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โครเอเชีย 2005 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เบลเยียม/ลักเซมเบิร์ก 2007 ทีม
เอคาเตรีนา กาโมวา หนึ่งในอดีตสมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย[1]

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย (รัสเซีย: Женская сборная России по волейболу) เป็นทีมชาติของประเทศรัสเซีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ[2]

ทีมนี้ลงแข่งขันในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง 1991 ในฐานะสหภาพโซเวียต และในฐานะเครือรัฐเอกราช ใน ค.ศ. 1992

และใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติรัสเซียได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ 2013 ในฐานะแชมป์จากรายการวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป[3] โดยเป็นฝ่ายแพ้ทีมชาติไทยที่ 3-1 เซต[4]

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2020-2021 ตำแหน่ง
1 เอลิซาเวตา โกโตวา 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 186 303 290 รัสเซีย ยูรารอสกา-เอ็นทีเอ็มเค ตัวบล็อกกลาง
4 ดาเรีย พิลิเพนโก 9 มิถุนายน ค.ศ. 1991 176 283 270 รัสเซีย ยูรารอสกา-เอ็นทีเอ็มเค ตัวรับอิสระ
5 โปลินา แมทวีวา 8 สิงหาคม ค.ศ. 2002 194 300 290 รัสเซีย ซาเรเชีย-โอดินโซโว ตัวเซ็ต
10 อารีนา เฟโดรอฟเซวา 19 มกราคม ค.ศ. 2004 191 315 300 รัสเซีย ไดนาโม-คาซาน ตัวตบหัวเสา
11 ยูเลีย บรอฟกินา 31 พฤษภาคม ค.ศ. 2001 190 310 300 รัสเซีย เอนิเซย์-ครัสโนยาสค์ ตัวบล็อกกลาง
12 อันนา ลาซาเรวา 31 มกราคม ค.ศ. 1997 190 310 305 เกาหลีใต้ IBK ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
13 เยฟเกนียา สตาร์ตเซวา 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 185 294 290 รัสเซีย ไดนาโม-คาซาน ตัวเซ็ต
17 ตาเตียนา คาดอชกินา 21 มีนาคม ค.ศ. 2003 192 305 300 รัสเซีย ไดนาโม-คาซาน ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
22 ทามารา เซตเซวา 16 ธันวาคม ค.ศ. 1994 170 283 270 รัสเซีย ไดนาโม-คราสโนดาร์ ตัวรับอิสระ
23 อิรินา คาปุสทินา 20 เมษายน ค.ศ. 1998 189 300 284 รัสเซีย อินเดซิต-ลิเพตสค์ ตัวตบหัวเสา
25 คเซเนีย สเมียร์โนวา 24 เมษายน ค.ศ. 1998 186 315 305 รัสเซีย ยูรารอสกา-เอ็นทีเอ็มเค ตัวตบหัวเสา
26 เอคาเตรีนา เอนีนา 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 192 305 300 รัสเซีย ไดนาโม-มอสโก ตัวบล็อกกลาง

รางวัล

[แก้]

ในฐานะสหภาพโซเวียต

  • ญี่ปุ่น 1964 เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1968 เหรียญทอง
  • เยอรมนี 1972 เหรียญทอง
  • แคนาดา 1976 เหรียญเงิน
  • สหภาพโซเวียต 1980 เหรียญทอง
  • สหรัฐ 1984 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เกาหลีใต้ 1988 เหรียญทอง

ในฐานะเครือรัฐเอกราช

  • สเปน 1992 เหรียญเงิน

ในฐานะรัสเซีย

  • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 4
  • ออสเตรเลีย 2000 เหรียญเงิน
  • กรีซ 2004 เหรียญเงิน
  • จีน 2008 – อันดับที่ 5
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 5
  • บราซิล 2016 - อันดับที่ 5

ในฐานะสหภาพโซเวียต

  • สหภาพโซเวียต 1952 : เหรียญทอง
  • ฝรั่งเศส 1956 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1960 : เหรียญทอง
  • บราซิล 1962 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1967 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 1970 : เหรียญทอง
  • เม็กซิโก 1974 : เหรียญเงิน
  • สหภาพโซเวียต 1978 : เหรียญทองแดง
  • เปรู 1982 : อันดับที่ 6
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : อันดับที่ 6
  • จีน 1990 : เหรียญทอง

ในฐานะรัสเซีย

  • บราซิล 1994 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1998 : เหรียญทองแดง
  • เยอรมนี 2002 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2006 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2010 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 2014 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2018 : อันดับที่ 8

ในฐานะสหภาพโซเวียต

  • อุรุกวัย 1973 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 1977 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1981 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1985 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1989 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1991 : เหรียญทองแดง

ในฐานะรัสเซีย

  • ญี่ปุ่น 1995 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1999 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2003 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2015 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2019 : เหรียญทองแดง

ในฐานะรัสเซีย

  • ญี่ปุ่น 1993 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1997 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2001 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 4

ในฐานะรัสเซีย

  • ฮ่องกง 1993 : อันดับที่ 3
  • จีน 1994 : อันดับที่ 7
  • จีน 1995 : อันดับที่ 6
  • จีน 1996 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1997 : เหรียญทอง
  • ฮ่องกง 1998 : เหรียญเงิน
  • จีน 1999 : เหรียญทอง
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : เหรียญเงิน
  • มาเก๊า 2001 : เหรียญทองแดง
  • ฮ่องกง 2002 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 2003 : เหรียญเงิน
  • อิตาลี 2004 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2006 : เหรียญเงิน
  • จีน 2007 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : เหรียญเงิน
  • จีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 4
  • จีน 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2014 : เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 2015 : เหรียญเงิน
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 4
  • จีน 2017 : อันดับที่ 9
  • จีน 2018 : อันดับ 7
  • จีน 2019 อันดับที่ 14

ในฐานะสหภาพโซเวียต

  • เช็กเกีย 1949 : เหรียญทอง
  • บัลแกเรีย 1950 : เหรียญทอง
  • ฝรั่งเศส 1951 : เหรียญทอง
  • โรมาเนีย 1955 : เหรียญเงิน
  • เช็กเกีย 1958 : เหรียญทอง
  • โรมาเนีย 1963 : เหรียญทอง
  • ตุรกี 1967 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 1971 : เหรียญทอง
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 : เหรียญทอง
  • ฟินแลนด์ 1977 : เหรียญทอง
  • ฝรั่งเศส 1979 : เหรียญทอง
  • บัลแกเรีย 1981 : เหรียญเงิน
  • เยอรมนีตะวันออก 1983 : เหรียญเงิน
  • เนเธอร์แลนด์ 1985 : เหรียญทอง
  • เบลเยียม 1987 : เหรียญเงิน
  • เยอรมนีตะวันตก 1989 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 1991 : เหรียญทอง

ในฐานะรัสเซีย

  • เช็กเกีย 1993 : เหรียญทอง
  • เนเธอร์แลนด์ 1995 : เหรียญทองแดง
  • เช็กเกีย 1997 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 1999 : เหรียญทอง
  • บัลแกเรีย 2001 : เหรียญทอง
  • ตุรกี 2003 : อันดับที่ 5
  • โครเอเชีย 2005 : เหรียญทองแดง
  • เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก 2007 : เหรียญทองแดง
  • โปแลนด์ 2009 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี เซอร์เบีย 2011 : อันดับที่ 6
  • เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ 2013 : เหรียญทอง
  • เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม 2015 : เหรียญทอง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

หนังสือ

[แก้]
  • Волейбол: Энциклопедия / Сост. В. Л. Свиридов, О. С. Чехов.— Томск: Компания «Янсон», 2001.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]