ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บัลแกเรีย
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลบัลแกเรีย
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนมาร์เซลโร แอดบอนแดนซา
อันดับเอฟไอวีบี23 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน1 (ครั้งแรกเมื่อ 1980)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด3 (1980)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน10 (ครั้งแรกเมื่อ 1952)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด4th (1952)
www.volleyball.bg (บัลแกเรีย) (อังกฤษ)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรีย
เหรียญรางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มอสโก 1980 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บัลแกเรีย 1981 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฝรั่งเศส 1979 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บัลแกเรีย 2001 ทีม
ยุโรเปี้ยนลีค
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ตุรกี 2010 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ สาธารณรัฐเช็ก 2012 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ตุรกี 2009 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ตุรกี 2011 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บัลแกเรีย 2013 ทีม
กีฬามหาวิทยาลัยโลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บัลแกเรีย 1961 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ สหภาพโซเวียต 1973 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อิตาลี 1970 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บัลแกเรีย 1977 ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบัลแกเรีย (บัลแกเรีย: Български национален отбор по волейбол) เป็นทีมชาติของประเทศบัลแกเรีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลบัลแกเรีย ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในปี 1981บัลแกเรียได้ชนะยุโรปที่บ้านของตนในโซเฟีย ปีก่อนบัลแกเรียได้รับเหรียญทองแดงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 เอาชนะทีมฮังการีในการแข่งขันเหรียญทองแดงด้วยคะแนน 3-2

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
1 ไดอานา เนโนวา 178 298 294 อาเซอร์ไบจาน โลโคโมทีฟ บากู ตัวเซต
2 เดอิสลาวา นิโกโลวา 184 308 295 อิตาลี วอลเลย์ โซวีราโต
3 แกมมีนา เคมโนวา 185 304 299 รัสเซีย วีซี เยนิเซ ครัสโนยา
4 โลรา กิติโปวา 184 310 300 เยอรมนี อลิอันซ์ วอลเลย์ ตการ์ต ตัวเซต
5 เอเลนา โกโลวา 194 316 310 ตุรกี กาลาตาซาราย ไดกิน บอลหลัก
6 สแปลโตลีนา ซาโกวา 187 315 305 โรมาเนีย ไดนาโม รอมเพรส บูคิวสติ
7 เกเบรียล โควา 187 312 305 ตุรกี เบซิคตัส บอลเร็ว
8 ซิโมนา ดีมีโทรวา 185 305 300 บัลแกเรีย วีซี ซีเอสเคเอ โซเฟีย
9 เพทยา เบราโกวา 180 283 271 บัลแกเรีย เลฟสกี วอลเลย์
10 เกิลกานา ดีมีโทรวา 183 305 288 บัลแกเรีย วีซี ซีเอสเคเอ โซเฟีย
11 ริดซีนา รัสสวา 190 311 299 อิตาลี แอลเจ วอลเลย์
12 มาริยา คารากาชีวา 182 295 290 โรมาเนีย ไดนาโม รอมเพรส บูคิวสติ บอลหลัก
13 มาริยา ฟิลิโปวา 178 295 275 อาเซอร์ไบจาน โลโคโมทีฟ บากู ตัวรับอิสระ
14 สลาวีนา โกลาวา 184 302 279 บัลแกเรีย คาแซเร็ก วอลเลย์
15 ซิววานา เชลล์ชีวา 188 305 290 บัลแกเรีย วีซี มาริตอฟดิฟ
16 อลิซา วาซีลาวา 190 302 290 เกาหลีใต้ อินช็อนฮึงกุกไลฟ์พิงก์สไปเดอร์ส
17 สตราชิมิลา ฟิลิโปวา 195 307 300 รัสเซีย บอลเร็ว
18 เอมิเลีย นิโกโลวา 185 302 287 อิตาลี
19 มิรา ทูดูโลวา 187 312 300 บัลแกเรีย วีซี มาริตอฟดิฟ บอลเร็ว
20 ซานา ทูดูโลวา 170 271 255 บัลแกเรีย วีซี มาริตอฟดิฟ ตัวรับอิสระ

รางวัล

[แก้]
  • กรีซ 2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2020 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฝรั่งเศส 2024 :
  • สหรัฐ 2028 :
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 10
  • เยอรมนี 2002 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2014 : อำดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2018 : อันดับ 12
  • เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ 2022 :
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2003 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • มาเก๊า 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับ 21
  • สหรัฐ 2015 : อันดับ 17
  • ไทย 2016 : อันดับ 16
  • จีน 2017 : อันดับ 17
  • จีน 2018 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2019 : อันดับที่16
  • 1949 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • 1950 — อันดับที่ 4
  • 1951 — ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • 1955 — อันดับที่ 5
  • 1958 — อันดับที่ 5
  • 1963 — อันดับที่ 5
  • 1967 — อันดับที่ 6
  • 1971 — อันดับที่ 4
  • 1975 — อันดับที่ 4
  • 1977 — อันดับที่ 7
  • 1979 เหรียญทองแดง
  • 1981 เหรียญทอง
  • 1983 — อันดับที่ 4
  • 1985 — อันดับที่ 10
  • 1987 — อันดับที่ 4
  • 1989 — อันดับที่ 7
  • 1991 — อันดับที่ 7
  • 1993 — อันดับที่ 9
  • 1995 — อันดับที่ 5
  • 1997 — อันดับที่ 4
  • 1999 — อันดับที่ 7
  • 2001 เหรียญทองแดง
  • 2003 — อันดับที่ 7
  • 2005 — อันดับที่ 9
  • 2007 — อันดับที่ 11
  • 2009 — อันดับที่ 8
  • 2013 — อันดับที่ 13

ยุโรเปี้ยนลีค

[แก้]
  • ตุรกี 2009 เหรียญทองแดง
  • ตุรกี 2010 เหรียญเงิน
  • ตุรกี 2011 เหรียญทองแดง
  • เช็กเกีย 2012 เหรียญเงิน
  • บัลแกเรีย 2013 เหรียญทองแดง

ดูเพิ่ม

[แก้]