วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติตุรกี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตุรกี
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลแห่งตุรกี
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนโจวันนี กุยเดตตี
อันดับเอฟไอวีบี1 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน2 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 2012)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 5 (2020)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน4 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 2006)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 6 (2010)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน1 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 2003)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 7 (2003)
ชิงแชมป์ยุโรป
เข้าร่วมแข่งขัน15 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1963)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด2 (2003, 2019)
www.voleybol.org.tr
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติตุรกี
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลเนชันส์ลีก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 รีมีนี 2021 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ หนางจิง 2018 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หนิงโป 2012 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ สโลวาเกีย/ฮังการี/โปแลนด์/ตุรกี 2019 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ตุรกี 2003 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซอร์เบีย/บัลแกเรีย/โครเอเชีย/โรมาเนีย 2021 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อาเซอร์ไบจาน/จอร์เจีย 2017 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซอร์เบีย/อิตาลี 2011 ทีม
กีฬายูโรเปียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บากู 2015 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยูโรเปียนลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ รึสเซลไซม์ 2014 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2015 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อิสตันบูล 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เคเซอรี 2009 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อังการา 2010 ทีม
เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อัลเมเรีย 2005 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อาวห์ราน 2022 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เมร์ซีน 2013 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เปสการา 2009 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ตูนิส 2001 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บารี 1997 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เอเธนส์ 1991 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ลัทธาเกีย 1987 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ตาร์ราโกนา 2018 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ล็องก์ด็อก-รูซียง 1993 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 แอลเจียร์ 1975 ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติตุรกี (ตุรกี: Türkiye Kadın Voleybol Milli Takımı) เป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศตุรกี ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาคมวอลเลย์บอลแห่งตุรกี และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของพวกเธอคือการคว้าเหรียญทองแดงในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2012 ที่ประเทศจีน

ปัจจุบันเป็นทีมนี้ จัดเป็นทีมอันดับที่ 6 ของโลกโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB)

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน[แก้]

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2022-2023 ตำแหน่ง
1. เบย์ซา อารึจึ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 192 302 293 ตุรกี อิกซาชิบาชิ ไดนาวิท ตัวบล็อกกลาง
2. ซิมเก อากอซ 23 เมษายน ค.ศ. 1991 168 250 245 ตุรกี อิกซาชิบาชิ ไดนาวิท ตัวรับอิสระ
3. จันซู ออซบาย 17 ตุลาคม ค.ศ. 1996 182 298 290 ตุรกี วากิฟแบงค์ อิสตันบูล ตัวเซ็ต
4. ทูก์บา เชโนลู 2 มกราคม ค.ศ. 1998 184 305 300 ญี่ปุ่น คูโรเบะ อควาแฟรีส์ ตัวตบหัวเสา
5. บาฮาร์ อักบาย 21 มกราคม ค.ศ. 1998 196 315 310 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวบล็อกกลาง
6. ชาลีฮา ชาฮิน 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 185 300 295 ตุรกี อิกซาชิบาชิ ไดนาวิท ตัวตบหัวเสา
7. ฮันเด บาลาดิน 9 มกราคม ค.ศ. 1997 190 315 305 ตุรกี อิกซาชิบาชิ ไดนาวิท ตัวตบหัวเสา
9. เมลิฮา อิสไมโลลู 17 กันยายน ค.ศ. 1993 188 303 291 ตุรกี เฟแนร์บาห์แช โอเปต ตัวตบหัวเสา
10. อายชา อายคัช 5 มกราคม ค.ศ. 1996 180 275 260 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวรับอิสระ
12. เอลีฟ ชาฮิน 19 มกราคม ค.ศ. 2001 189 302 300 ตุรกี อิกซาชิบาชิ ไดนาวิท ตัวเซ็ต
13. เมอร์เยม บอซ 2 มีนาคม ค.ศ. 1988 190 323 310 ตุรกี เฟแนร์บาห์แช โอเปต ตัวตบบีหลัง
14. เอดา เออร์เด็ม-ดึนดาร์ (C) 22 มิถุนายน ค.ศ. 1987 188 315 302 ตุรกี เฟแนร์บาห์แช โอเปต ตัวบล็อกกลาง
15. อายชิน อักยอล 15 มิถุนายน ค.ศ. 1999 188 305 298 ตุรกี กาลาตาซาราย เฮเด ซิกอร์ตา ตัวบล็อกกลาง
17. ดาเรีย เชเบชิโอลู 2 มกราคม ค.ศ. 1998 182 304 292 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวตบหัวเสา
18. เซห์รา กูเนส 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 196 319 310 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวบล็อกกลาง
19. เชเรน คาปูชู 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1993 190 312 309 ตุรกี โบลู เบเลดิเยสปอร์ ตัวตบบีหลัง
20. อายลิน อาจาร์ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 168 270 260 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวรับอิสระ
22. อิลคิน อายดิน 5 มกราคม ค.ศ. 2000 183 310 298 ตุรกี กาลาตาซาราย เฮเด ซิกอร์ตา ตัวตบหัวเสา
27. บูเก็ต กึลึบาย 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 183 280 270 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวเซ็ต
66. คูบรา อักมาน 13 ตุลาคม ค.ศ. 1994 197 312 300 ตุรกี วากิฟแบงค์ ตัวบล็อกกลาง
77. ซิลา ชาลิสคาน 16 ธันวาคม ค.ศ. 1996 183 290 285 ตุรกี นิลูเฟอร์ เบเลดิเยสปอร์ ตัวเซ็ต
99. อีบราร์ คาราคูร์ต 17 มกราคม ค.ศ. 2000 197 325 312 อิตาลี อีกอร์ กอร์กอนโซลา โนวารา ตัวตบบีหลัง

รางวัล[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 9
  • บราซิล 2016 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2020 - อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี 2014 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2018 : อันดับที่ 10

เวิลด์คัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2015 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ญี่ปุ่น 2008 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • มาเก๊า 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2012 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 4
  • สหรัฐ 2015 : อันดับที่ 11
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 10
  • จีน 2017 : อันดับที่ 11

วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก [แก้]

  • จีน 2018 เหรียญเงิน
  • จีน 2019 : อันดับที่ 4
  • อิตาลี 2021 : เหรียญทองแดง
  • ตุรกี 2022 : อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป[แก้]

  • โรมาเนีย 1963 : อันดับที่ 10
  • ตุรกี 1967 : อันดับที่ 12
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฟินแลนด์ 1977 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฝรั่งเศส 1979 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 1981 : อันดับที่ 12
  • เยอรมนีตะวันออก 1983 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เนเธอร์แลนด์ 1985 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เบลเยียม 1987 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนีตะวันตก 1989 : อันดับที่ 11
  • อิตาลี 1991 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เช็กเกีย 1993 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เนเธอร์แลนด์ 1995 : อันดับที่ 12
  • เช็กเกีย 1997 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 1999 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 2001 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ตุรกี 2003 : เหรียญเงิน
  • โครเอเชีย 2005 : อันดับที่ 6
  • เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก 2007 : อันดับที่ 10
  • โปแลนด์ 2009 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี เซอร์เบีย 2011 : เหรียญทองแดง
  • เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ 2013 : อันดับที่ 7
  • เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม 2015 : อันดับที่ 4
  • อาเซอร์ไบจาน ประเทศจอร์เจีย 2017 : เหรียญทองแดง
  • ฮังการี โปแลนด์ สโลวาเกีย ตุรกี 2019 : เหรียญเงิน
  • เซอร์เบีย บัลแกเรีย โครเอเชีย โรมาเนีย 2021 : เหรียญทองแดง

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยูโรเปียนคัพ[แก้]

  • ตุรกี 2009 : เหรียญเงิน
  • ตุรกี 2010 : เหรียญทองแดง
  • ตุรกี 2011 : เหรียญเงิน
  • เช็กเกีย 2012 : อันดับที่ 8
  • บัลแกเรีย 2013 : อันดับที่ 6

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์[แก้]

  • แอลจีเรีย 1975 : เหรียญทองแดง
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1979 : อันดับที่ 4
  • โมร็อกโก 1983 : อันดับที่ 5
  • ซีเรีย 1987 : เหรียญเงิน
  • กรีซ 1991 : เหรียญเงิน
  • ฝรั่งเศส 1993 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 1997 : เหรียญเงิน
  • ตูนิเซีย 2001 : เหรียญเงิน
  • สเปน 2005 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 2009 : เหรียญเงิน
  • ตุรกี 2013 : เหรียญเงิน
  • ฝรั่งเศส 2018 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2022 : เหรียญเงิน