วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบา
![]() | |||
สมาคม | สหพันธ์วอลเลย์บอลคิวบา | ||
---|---|---|---|
สมาพันธ์ | นอร์เซกา | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ควน การ์โลส กาลา | ||
อันดับเอฟไอวีบี | 28 (ณ 1 มกราคม 2023) | ||
เครื่องแบบ | |||
| |||
โอลิมปิกฤดูร้อน | |||
เข้าแข่งขัน | 8 (ครั้งแรกใน 1972) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | ![]() | ||
ชิงแชมป์โลก | |||
เข้าร่วมแข่งขัน | 12 (ครั้งแรกใน 1970) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | ![]() | ||
เวิลด์คัพ | |||
เข้าร่วมแข่งขัน | 10 (ครั้งแรกใน 1973) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | ![]() |
เหรียญรางวัล | ||
---|---|---|
กีฬาโอลิมปิก | ||
![]() |
1992 บาร์เซโลนา | ทีม |
![]() |
1996 แอตแลนตา | ทีม |
![]() |
2000 ซิดนีย์ | ทีม |
![]() |
2004 เอเธนส์ | ทีม |
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก | ||
![]() |
1978 สหภาพโซเวียต | ทีม |
![]() |
1994 บราซิล | ทีม |
![]() |
1998 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1986 เชโกสโลวาเกีย | ทีม |
วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ | ||
![]() |
1989 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1991 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1995 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1999 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1977 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1985 ญี่ปุ่น | ทีม |
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ | ||
![]() |
1993 ญี่ปุ่น | ทีม |
![]() |
1997 ญี่ปุ่น | ทีม |
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ | ||
![]() |
1993 ฮ่องกง | ทีม |
![]() |
2000 มะนิลา | ทีม |
![]() |
1994 เซี่ยงไฮ้ | ทีม |
![]() |
1996 เซี่ยงไฮ้ | ทีม |
![]() |
1997 โคเบะ | ทีม |
![]() |
2008 โยะโกะฮะมะ | ทีม |
![]() |
1995 เซี่ยงไฮ้ | ทีม |
![]() |
1998 ฮ่องกง | ทีม |
แพนอเมริกันเกมส์ | ||
![]() |
1971 กาลี | ทีม |
![]() |
1975 เม็กซิโกซิตี | ทีม |
![]() |
1979 ซานฮวน | ทีม |
![]() |
1983 การากัส | ทีม |
![]() |
1987 อินเดียแนโพลิส | ทีม |
![]() |
1991 ฮาวานา | ทีม |
![]() |
1995 มาร์เดลปลาตา | ทีม |
![]() |
2007 รีโอเดจาเนโร | ทีม |
![]() |
1999 วินนิเพก | ทีม |
![]() |
2003 ซานโตโดมิงโก | ทีม |
![]() |
2011 กวาดาลาฮารา | ทีม |
![]() |
1967 วินนิเพก | ทีม |
อเมริกากลางและแคริบเบียนเกมส์ | ||
![]() |
2006 การ์ตาเฟนา | ทีม |
![]() |
2014 เบรากรุซ | ทีม |
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบา (สเปน: Selección femenina de fútbol de Cuba) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศคิวบา
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคิวบาเป็นทีมแรกที่สามารถเอาชนะทีมชาติสหภาพโซเวียตและทีมชาติญี่ปุ่นในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1978 จึงทำให้ทีมชาติคิวบาสามารถคว้าแชมป์ในรายการนี้ไปครองได้สำเร็จ
ทีมชาติหญิงของคิวบาเคยเป็นทีมอันดับ 1 ของโลกในช่วงทศวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1991– ค.ศ. 2000) นอกจากนี้ทีมชาติคิวบายังสามารถครองแชมป์ได้อีก 8 ครั้ง ได้แก่ โอลิมปิกฤดูร้อน (1992, 1996, 2000), ชิงแชมป์โลก (1994, 1988), เวิลด์คัพ (1991, 1995, 1999)
ฉายาของทีมคือ โมรานาส เดล คารีเบ
ผลงานเหรียญทองระดับโลก[แก้]
ปี | การแข่งขัน | เจ้าภาพ | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 |
---|---|---|---|---|
1978 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1978 | สหภาพโซเวียต | ![]() |
![]() |
1989 | วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1989 | ญี่ปุ่น | ![]() |
![]() |
1991 # | วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1991 | ญี่ปุ่น | ![]() |
![]() |
1992 # | โอลิมปิกฤดูร้อน 1992 | สเปน | ![]() |
![]() |
1994 # | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1994 | บราซิล | ![]() |
![]() |
1995 # | วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1995 | ญี่ปุ่น | ![]() |
![]() |
1996 # | โอลิมปิกฤดูร้อน 1996 | สหรัฐอเมริกา | ![]() |
![]() |
1998 # | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1998 | ญี่ปุ่น | ![]() |
![]() |
1999 # | วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1999 | ญี่ปุ่น | ![]() |
![]() |
2000 # | โอลิมปิกฤดูร้อน 2000 | ออสเตรเลีย | ![]() |
![]() |
# – แชมป์ 8 รายการ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 (วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก, เวิลด์คัพ, กีฬาโอลิมปิก)
รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน[แก้]
- หัวหน้าผู้ฝึกสอน: โทมัส เฟอร์นันเดซ
- อ้างอิงรายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบันจาก : การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2018
เบอร์ | ชื่อ | วันเกิด | ส่วนสูง | น้ำหนัก | ตบ | บล็อก |
---|---|---|---|---|---|---|
1. | คลาวเดีย
เฮอร์นันเดซ |
30 เมษายน ค.ศ. 1999 | 181 | 78 | 225 | 223 |
4. | ไลอานนี่ ตามาโญ่ | 16 มกราคม ค.ศ. 1992 | 178 | 58 | 295 | 290 |
7. | เอวิลาเนีย มาร์ติเนซ | 11 มกราคม ค.ศ. 2000 | 184 | 71 | 305 | 300 |
8. | ไดอาริส เพเรซ(C) | 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1998 | 182 | 75 | 304 | 295 |
11. | เกรเทล โมเลโน่ | 30 มกราคม ค.ศ. 1998 | 183 | 68 | 287 | 280 |
12. | ไอลาม่า เคสซ | 29 ตุลาคม ค.ศ. 2000 | 188 | 58 | 322 | 308 |
14. | เจสซิก้า อกูยเลร่า | 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 | 184 | 68 | 311 | 302 |
17. | ไคตาเนีย เมดิน่า | 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 | 186 | 77 | 308 | 295 |
19. | ลอร่า ชัวเรซ | 13 ธันวาคม ค.ศ. 1998 | 185 | 75 | 304 | 292 |
22. | เอกลิ ซาบิน | 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 | 187 | 76 | 315 | 308 |
23. | ไดม่า เดล ริโอ | 9 กันยายน ค.ศ. 2000 | 180 | 77 | 236 | 234 |
25. | ไอวี่ เมย์ วีล่า | 22 กรกฎาคม ค.ศ. 2001 | 181 | 78 | 235 | 232 |
รางวัล[แก้]
โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]
1964 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1968 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1972 – อันดับที่ 6
1976 – อันดับที่ 6
1980 – อันดับที่ 6
1984 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1988 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1992 –
เหรียญทอง
1996 –
เหรียญทอง
2000 –
เหรียญทอง
2004 –
เหรียญทองแดง
2008 – อันดับที่ 4
2012 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
2016 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]
1952 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1956 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1960 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1962 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1967 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1970 : อันดับที่ 8
1974 : อันดับที่ 7
1978 :
เหรียญทอง
1982 : อันดับที่ 5
1986 :
เหรียญเงิน
1990 : อันดับที่ 4
1994 :
เหรียญทอง
1998 :
เหรียญทอง
2002 : อันดับที่ 5
2006 : อันดับที่ 7
2010 : อันดับที่ 12
2014 : อันดับที่ 21
2018 : อันดับที่ 22
เวิลด์คัพ[แก้]
1973 : อันดับที่ 5
1977 :
เหรียญเงิน
1981 : อันดับที่ 6
1985 :
เหรียญเงิน
1989 :
เหรียญทอง
1991 :
เหรียญทอง
1995 :
เหรียญทอง
1999 :
เหรียญทอง
2003 : อันดับที่ 6
2007 : อันดับที่ 4
2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
2015 : อันดับที่ 9
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]
1993 :
เหรียญทอง
1994 :
เหรียญเงิน
1995 :
เหรียญทองแดง
1996 :
เหรียญเงิน
1997 :
เหรียญเงิน
1998 :
เหรียญทองแดง
1999 : อันดับที่ 5
2000 :
เหรียญทอง
2001 : อันดับที่ 4
2002 : อันดับที่ 7
2003 : อันดับที่ 11
2004 : อันดับที่ 4
2005 : อันดับที่ 4
2006 : อันดับที่ 4
2007 : อันดับที่ 7
2008 :
เหรียญเงิน
2009 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
2010 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
2011 : อันดับที่ 11
2012 : อันดับที่ 6
2013 : อันดับที่ 19
2014 : อันดับที่ 20
2015 : อันดับที่ 25
2016 : อันดับที่ 25
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]
แพนอเมริกันเกมส์[แก้]
1955 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1959 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1963 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
1967 :
เหรียญทองแดง
1971 :
เหรียญทอง
1975 :
เหรียญทอง
1979 :
เหรียญทอง
1983 :
เหรียญทอง
1987 :
เหรียญทอง
1991 :
เหรียญทอง
1995 :
เหรียญทอง
1999 :
เหรียญเงิน
2003 :
เหรียญเงิน
2007 :
เหรียญทอง
2011 :
เหรียญเงิน
แพน-อเมริกันคัพ[แก้]
2002 :
เหรียญทอง
2003 :
เหรียญทองแดง
2004 :
เหรียญทอง
2005 :
เหรียญทอง
2006 :
เหรียญเงิน
2007 :
เหรียญทอง
2008 : อันดับที่ 11
2009 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
2010 : อันดับที่ 4
2011 : อันดับที่ 4
2012 :
เหรียญทองแดง
2013 : อันดับที่ 6