วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติอิตาลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิตาลี
Flag of Italy.svg
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลแห่งอิตาลี
หัวหน้าผู้ฝึกสอนดาวีเด มัซซันตี
อันดับเอฟไอวีบี2 (ณ 1 มกราคม 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน4 สมัย (ครั้งแรกใน 2000)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน11 สมัย (ครั้งแรกใน 1978)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดGold medal with cup.svg (2002)
www.federvolley.it (อิตาลี)
เกียรติประวัติ
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2002 เยอรมัน ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2018 ญี่ปุ่น ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2007 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 ญี่ปุ่น ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2009 โตเกียว/ฟุกุโอกะ ทีม
เนชันส์ลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2022 อังการา ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2004 ราจิโอ คาลาเบรีย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2005 เซนได ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2006 ราจิโอ คาลาเบรีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2007 หนิงโป ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2008 โยโกฮามา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2010 หนิงโป ทีม
เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1979 สปริท ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1983 คาซาบลังกา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1991 เอเธนส์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1997 บารี ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2001 ตูนิส ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2009 เปสการา ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1975 แอลจีเรีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1987 ลัทธาเกีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2005 อัลเมเรีย ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2007 เบลเยี่ยม/ลักเซมเบิร์ก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2009 โปแลนด์ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2001 บัลแกเรีย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2005 โครเอเชีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1989 สวีเดน ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1999 อิตาลี ทีม
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติอิตาลีในปี 2002

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติอิตาลี (อิตาลี: Nazionale di pallavolo femminile dell'Italia) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศอิตาลี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอันดับ 2 ของโลก โดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และมีหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือดาวีเด มัซซันตี

หนึ่งในความสำเร็จของทีมวอลเลย์บอลหญิงอิตาลีคือการคว้าแชมป์วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2002 ที่เยอรมัน โดยทีมชาติอิตาลีสามารถเอาชนะทีมชาติสหรัฐอเมริกาในรอบชิงชนะเลิศ และคว้าแชมป์วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพในปี 2007 และปี 2011 ที่ประเทศญี่ปุ่น และคว้าอันดับที่ 2 ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก ปี2018

ทีมชาติอิตาลีได้รับเลือกให้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 จากการเป็นฝ่ายคว้าแชมป์วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 2011 ตั้งแต่วันที่ 4 ถึง 18 พฤศจิกายน ณ ประเทศญี่ปุ่น และที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ทีมดังกล่าวได้อันดับห้าจากการแข่งขัน

และในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2013 ทีมชาติอิตาลีได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายที่เมืองซัปโปโระ ประเทศญี่ปุ่นและคว้าอันดับ 5 จากการแข่งขันครั้งนี้ไปครอง เวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2016 ได้เป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทย 3-2 เซต และ เวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2017 แพ้อีกให้กับทีมชาติไทย 3-0 เซต

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก จุดตบ จุดบล็อก ตำแหน่ง สโมสร 2021-2022
3. อเลสเซีย เกนนารี่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 184 68 302 284 ตัวตบหัวเสา อิตาลี เวโร วอลเลย์ มอนซา
4. ซาร่าห์ โบนิฟาซิโอ้ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1996 186 75 324 244 บอลเร็ว อิตาลี อีกอร์ กอร์กอนโซลา โนวารา
5. โอเฟเลีย มาลินอฟ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 185 70 304 285 ตัวเซต อิตาลี ซาวีโน่ เดล เบเน่ สแกนดิชชี่
6. โมนิกา เด เจนนาโร่ (L) 8 มกราคม ค.ศ. 1987 174 67 292 217 ตัวรับอิสระ อิตาลี อีโมโก วอลเลย์ โกเนลยาโน
8. อเลสเซีย ออร์โร่ 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 180 64 308 231 ตัวเซต อิตาลี เวโร วอลเลย์ มอนซา
9. คาเทอรินา โบเซตติ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 179 62 310 292 ตัวตบหัวเสา อิตาลี อีกอร์ กอร์กอนโซลา โนวารา
10. คริสติน่า คิริเคลล่า 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 195 75 322 301 บอลเร็ว อิตาลี อีกอร์ กอร์กอนโซลา โนวารา
11. อันนา ดาเนซี่ 20 เมษายน ค.ศ. 1996 198 78 312 294 บอลเร็ว อิตาลี เวโร วอลเลย์ มอนซา
14. เอเลน่า เพียตรินี่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2000 190 73 330 306 ตัวตบหัวเสา อิตาลี ซาวีโน่ เดล เบเน่ สแกนดิชชี่
15. ซิลเวีย เอนวากาลอร์ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1999 177 70 330 312 บีหลัง อิตาลี อิล บีซอนเต้ ฟีเรนเซ่
17. มิเรียม ฟาติมี ซิลล่า (C) 8 มกราคม ค.ศ. 1995 184 80 320 240 ตัวตบหัวเสา อิตาลี อีโมโก วอลเลย์ โกเนลยาโน
18. เปาล่า โอเกชี่ เอโกนู 18 ธันวาคม ค.ศ. 1998 193 80 344 321 บีหลัง อิตาลี อีโมโก วอลเลย์ โกเนลยาโน
20. เบทรีซ พาร์ร๊อคเชียเล่ (L) 26 ธันวาคม ค.ศ. 1995 167 60 296 213 ตัวรับอิสระ อิตาลี เวโร วอลเลย์ มอนซา
24. อเลสเซีย ม๊าซซาโร่ 29 กันยายน ค.ศ. 1998 185 64 302 284 บอลเร็ว อิตาลี เชียรี่'76 วอลเลย์
29. โซเฟีย ดี'โอโดริโก้ 6 มกราคม ค.ศ. 1997 187 78 312 302 ตัวตบหัวเสา อิตาลี อีกอร์ กอร์กอนโซลา โนวารา

รางวัล[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1964 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1968 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนี 1972 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • แคนาดา 1976 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1984 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เกาหลีใต้ 1988 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สเปน 1992 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1996 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 9
  • กรีซ 2004 – อันดับที่ 5
  • จีน 2008 – อันดับที่ 5
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 5
  • บราซิล 2016 –อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2020 –อันดับที่ 6

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1960 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1962 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1967 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บัลแกเรีย 1970 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1974 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหภาพโซเวียต 1978 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เปรู 1982 : อันดับที่ 15
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : อันดับที่ 9
  • จีน 1990 : อันดับที่ 10
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 14
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 5
  • เยอรมนี 2002 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี 2014 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2018  :Med 2.png เหรียญเงิน

เวิลด์คัพ[แก้]

  • อุรุกวัย 1973 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1977 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1981 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1985 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1989 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1991 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1995 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2007 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2011 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2015 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2019 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 2009 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ฮ่องกง 1993 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 1994 : อันดับที่ 8
  • จีน 1995 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 1996 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 7
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 5
  • จีน 1999 : อันดับที่ 4
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 7
  • มาเก๊า 2001 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2003 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี 2004 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2005 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • อิตาลี 2006 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • จีน 2007 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2008 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2010 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 7
  • จีน 2012 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 9
  • สหรัฐ 2015 : อันดับที่ 5
  • ไทย 2016 : อันดับที่ 8
  • จีน 2017 : Med 2.png เหรียญเงิน

วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก[แก้]

  • จีน 2018 : อันดับที่ 6
  • จีน 2019 : อันดับที่ 5
  • อิตาลี 2021 : อันดับที่ 12
  • ตุรกี 2022 : Med 1.png เหรียญทอง

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์[แก้]

  • แอลจีเรีย 1975 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1979 : Med 1.png เหรียญทอง
  • โมร็อกโก 1983 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ซีเรีย 1987 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • กรีซ 1991 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ฝรั่งเศส 1993 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • อิตาลี 1997 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ตูนิเซีย 2001 : Med 1.png เหรียญทอง
  • สเปน 2005 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2009 : Med 1.png เหรียญทอง
  • ตุรกี 2013 : Med 1.png เหรียญทอง

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป[แก้]

  • ฝรั่งเศส 1951 : อันดับที่ 6
  • โรมาเนีย 1955 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • เช็กเกีย 1958 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • โรมาเนีย 1963 : ไม่ได้เข้าแข่งขัน
  • ตุรกี 1967 : อันดับที่ 11
  • อิตาลี 1971 : อันดับที่ 8
  • สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 : อันดับที่ 9
  • ฟินแลนด์ 1977 : อันดับที่ 11
  • บัลแกเรีย 1981 : อันดับที่ 8
  • เยอรมนีตะวันออก 1983 : อันดับที่ 7
  • เนเธอร์แลนด์ 1985 : อันดับที่ 5
  • เบลเยียม 1987 : อันดับที่ 6
  • เยอรมนีตะวันตก 1989 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 1991 : อันดับที่ 4
  • เช็กเกีย 1993 : อันดับที่ 4
  • เนเธอร์แลนด์ 1995 : อันดับที่ 6
  • เช็กเกีย 1997 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี 1999 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • บัลแกเรีย 2001 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • ตุรกี 2003 : อันดับที่ 6
  • โครเอเชีย 2005 : Med 2.png เหรียญเงิน
  • เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก 2007 : Med 1.png เหรียญทอง
  • โปแลนด์ 2009 : Med 1.png เหรียญทอง
  • อิตาลี เซอร์เบีย 2011 : อันดับที่ 4
  • เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ 2013 : อันดับที่ 6
  • เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ 2015 : อันดับที่ 8
  • อาเซอร์ไบจาน ประเทศจอร์เจีย 2017 : อันดับที่ 5
  • ฮังการี โปแลนด์ สโลวาเกีย ตุรกี 2019 : Med 3.png เหรียญทองแดง
  • เซอร์เบีย บัลแกเรีย โครเอเชีย โรมาเนีย 2021 : Med 1.png เหรียญทอง

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]