วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเนเธอร์แลนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนเธอร์แลนด์
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลเนเธอร์แลนด์
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเจมี่ มอริสัน
อันดับเอฟไอวีบี10 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน3 (ครั้งแรกเมื่อ 1992)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 4 (2016)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน14 (ครั้งแรกเมื่อ 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 4(2018)
www.volleybal.nl (ดัตช์)

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเนเธอร์แลนด์ (ดัตช์: Nederlandse volleybalploeg (vrouwen)) เป็นทีมวอลเลย์บอลของประเทศเนเธอร์แลนด์ ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเนเธอร์แลนด์ (เนโฟโบ)

ประวัติการแข่งขัน[แก้]

กีฬาโอลิมปิก[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1964 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 1968
เยอรมนีตะวันตก 1972
แคนาดา 1976
สหภาพโซเวียต 1980
สหรัฐ 1984
เกาหลีใต้ 1988
สเปน 1992 6
สหรัฐ 1996 5
ออสเตรเลีย 2000 ไม่ผ่านการคัดเลือก
กรีซ 2004
ปี อันดับ
จีน 2008 ไม่ผ่านการคัดเลือก
สหราชอาณาจักร 2012
บราซิล 2016 4

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

ปี อันดับ
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ได้เข้าร่วม
ฝรั่งเศส 1956 10
บราซิล 1960 ไม่ได้เข้าร่วม
สหภาพโซเวียต 1962 12
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ได้เข้าร่วม
บัลแกเรีย 1970 15
เม็กซิโก 1974 16
สหภาพโซเวียต 1978 17
เปรู 1982 16
เชโกสโลวาเกีย 1986 ไม่ผ่านการคัดเลือก
จีน 1990 9
ปี อันดับ
บราซิล 1994 9
ญี่ปุ่น 1998 7
เยอรมนี 2002 9
ญี่ปุ่น 2006 8
ญี่ปุ่น 2010 11
อิตาลี 2014 13
ญี่ปุ่น 2018 4

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

ปี อันดับ
ฮ่องกง 1993 ไม่ได้เข้าร่วม
จีน 1994 9
จีน 1995 ไม่ได้เข้าร่วม
จีน 1996 7
ญี่ปุ่น 1997 7
ฮ่องกง 1998 ไม่ได้เข้าร่วม
จีน 1999 8
ฟิลิปปินส์ 2000 ไม่ผ่านการคัดเลือก
มาเก๊า 2001
ฮ่องกง 2002
อิตาลี 2003 4
อิตาลี 2004 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 2005 6
ปี อันดับ
อิตาลี 2006 ไม่ผ่านการคัดเลือก
จีน 2007 1
ญี่ปุ่น 2008 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 2009 4
จีน 2010 7
มาเก๊า 2011 ไม่ผ่านการคัดเลือก
จีน 2012
ญี่ปุ่น 2013 12
ญี่ปุ่น 2014 14
สหรัฐ 2015 13
ไทย 2016 3
จีน 2017 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

ปี อันดับ
เชโกสโลวาเกีย 1949 7
บัลแกเรีย 1950 ไม่ได้เข้าร่วม
ฝรั่งเศส 1951 5
โรมาเนีย 1955 ไม่ได้เข้าร่วม
เชโกสโลวาเกีย 1958 10
โรมาเนีย 1963 9
ตุรกี 1967 7
อิตาลี 1971 9
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 11
ฟินแลนด์ 1977 10
ฝรั่งเศส 1979 6
บัลแกเรีย 1981 9
เยอรมนีตะวันออก 1983 11
เนเธอร์แลนด์ 1985 3
เบลเยียม 1987 5
เยอรมนีตะวันตก 1989 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ปี อันดับ
อิตาลี 1991 รองชนะเลิศ
เช็กเกีย 1993 7
เนเธอร์แลนด์ 1995 1
เช็กเกีย 1997 9
อิตาลี 1999 5
บัลแกเรีย 2001 5
ตุรกี 2003 4
โครเอเชีย 2005 5
เบลเยียม/ลักเซมเบิร์ก 2007 5
โปแลนด์ 2009 2
อิตาลี/เซอร์เบีย 2011 7
เยอรมนี/สวิตเซอร์แลนด์ 2013 9
เบลเยียม/เนเธอร์แลนด์ 2015 2
อาเซอร์ไบจาน/ประเทศจอร์เจีย 2017 ผ่านการคัดเลือก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]