ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2011

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2011
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ มาเก๊า มาเก๊า อีสเอเชียนเกมส์ โดม
วันที่5–28 สิงหาคม
ทีม16
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศ สหรัฐ (สมัยที่ 4th)
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่า ดาสไทนีย์ ฮุคเกอร์ (USA)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
2011 FIVB World Grand Prix

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2011 (อังกฤษ: FIVB World Grand Prix 2011) เป็นการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงจากการคัดเลือกจากทวีปต่างๆ ทั้งหมด 16 ประเทศ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5-28 สิงหาคม 2554 รอบชิงชนะเลิศ จะจัดขึ้นที่มาเก๊า อีสเอเชียนเกมส์โดม, เขตบริหารพิเศษมาเก๊า, สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งปีนี้นักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์

หลังจบการแข่งขันครั้งนี้ ทีมชาติไทยจบที่อันดับ 6[1]ได้คะแนนสะสมเพิ่ม 25 คะแนน อันดับโลกของทีมไทยจึงขยับจากอันดับ 14 ขึ้นไปเป็นอันดับที่ 10 ของโลก[2]

การคัดเลือก

[แก้]
  • ทีมที่สามารถเข้ามาแข่งขันเวิลด์กรังปรีซ์ ต้องผ่านโควตาของแต่ละทวีป ดังนี้
ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปเอเชีย

 โปแลนด์
 เซอร์เบีย
 อิตาลี
 เยอรมนี
 รัสเซีย

 บราซิล
 เปรู
 สหรัฐ
 คิวบา
 อาร์เจนตินา
 สาธารณรัฐโดมินิกัน

 จีน
 ญี่ปุ่น
 เกาหลีใต้
 คาซัคสถาน
 ไทย

ปฏิทินการแข่งขัน

[แก้]
สัปดาห์ที่ 1
5–7 สิงหาคม 2554
กลุ่ม A:
บึดกอชตช์,  โปแลนด์
กลุ่ม B:
นครปฐม,  ไทย
กลุ่ม C:
ปูซาน,  เกาหลีใต้
กลุ่ม D:
ลั่วเหอ,  จีน

 โปแลนด์
 อิตาลี
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
 อาร์เจนตินา

 ไทย
 คิวบา
 เปรู
 รัสเซีย

 เกาหลีใต้
 บราซิล
 ญี่ปุ่น
 เยอรมนี

 จีน
 สหรัฐ
 เซอร์เบีย
 คาซัคสถาน

สัปดาห์ที่ 2
12–14 สิงหาคม 2554
กลุ่ม E:
แชลอนากูรา,  โปแลนด์
กลุ่ม F:
อัลมาเตอ,  คาซัคสถาน
กลุ่ม G:
กว่างโจว,  จีน
กลุ่ม H:
โคะมะกิ,  ญี่ปุ่น

 โปแลนด์
 คิวบา
 เกาหลีใต้
 อาร์เจนตินา

 คาซัคสถาน
 อิตาลี
 บราซิล
 ไทย

 จีน
 รัสเซีย
 เยอรมนี
 เปรู

 ญี่ปุ่น
 สหรัฐ
 เซอร์เบีย
 สาธารณรัฐโดมินิกัน

สัปดาห์ที่ 3
19–21 สิงหาคม 2554
กลุ่ม I:
 ฮ่องกง
กลุ่ม J:
 ฮ่องกง
กลุ่ม K:
กรุงเทพมหานคร,  ไทย
กลุ่ม L:
โตเกียว,  ญี่ปุ่น

 จีน
 โปแลนด์
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
 คาซัคสถาน

 สหรัฐ
 อิตาลี
 เยอรมนี
 เปรู

 ไทย
 คิวบา
 บราซิล
 อาร์เจนตินา

 ญี่ปุ่น
 รัสเซีย
 เซอร์เบีย
 เกาหลีใต้

สัปดาห์ที่ 4
รอบสุดท้าย
24–28 สิงหาคม 2554
เขตบริหารพิเศษมาเก๊า สาธารณรัฐประชาชนจีน

รอบคัดเลือก

[แก้]

ตารางคะแนนการแข่งขัน

[แก้]
แข่ง แต้ม เซต
อันดับ ทีม แต้ม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ประเทศบราซิล บราซิล 27 9 0 722 514 1.405 27 2 13.500
2 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 23 8 1 708 559 1.267 25 5 5.000
3 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 21 7 2 751 626 1.200 23 9 2.556
4 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 20 6 3 762 700 1.089 23 11 2.091
5 ประเทศอิตาลี อิตาลี 19 7 2 804 718 1.120 22 13 1.692
6 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 18 6 3 664 645 1.029 18 11 1.636
7 ประเทศจีน จีน 17 6 3 702 669 1.049 19 12 1.583
8 ประเทศไทย ไทย 15 5 4 695 693 1.003 17 15 1.133
9 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 13 5 4 708 732 0.967 15 17 0.882
10 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 13 4 5 733 727 1.008 16 16 1.000
11 ประเทศคิวบา คิวบา 9 2 7 748 814 0.919 15 21 0.714
12 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 8 3 6 767 829 0.925 13 23 0.565
13 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 7 2 7 670 729 0.919 10 22 0.455
14 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 4 2 7 622 752 0.827 7 25 0.280
15 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 2 0 9 613 757 0.810 5 27 0.185
16 ประเทศเปรู เปรู 0 0 9 482 696 0.693 1 27 0.037

สัปดาห์ที่ 1

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
5 Aug โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 3–0 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–20 25–17 25–22     75–59
5 Aug อิตาลี ประเทศอิตาลี 3–1 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–18 22–25 25–18 25–17   97–78
6 Aug โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 2–3 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–21 17–25 24–26 25–23 16–18 107–113
6 Aug อิตาลี ประเทศอิตาลี 3–1 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–17 23–25 25–20 25–18   98–80
7 Aug โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 1–3 ประเทศอิตาลี อิตาลี 12–25 25–21 24–26 14–25   75–97
7 Aug สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 2–3 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–20 22–25 19–25 25–23 11–15 102–108

กลุ่ม B

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
5 Aug รัสเซีย ประเทศรัสเซีย 3–1 ประเทศคิวบา คิวบา 24–26 25–18 25–23 25–20   99–87
5 Aug ไทย ประเทศไทย 3–0 ประเทศเปรู เปรู 25–20 25–13 25–16     75–49
6 Aug เปรู ประเทศเปรู 0–3 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 12–25 9–25 14–25     35–75
6 Aug คิวบา ประเทศคิวบา 2–3 ประเทศไทย ไทย 25–23 25–17 26–28 23–25 10–15 109–108
7 Aug เปรู ประเทศเปรู 0–3 ประเทศคิวบา คิวบา 24–26 19–25 22–25     65–76
7 Aug รัสเซีย ประเทศรัสเซีย 3–0 ประเทศไทย ไทย 25–18 25–19 27–25     77–62

กลุ่ม C

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
5 Aug บราซิล ประเทศบราซิล 3–0 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 25–18 25–16 25–21     75–55
5 Aug เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 3–1 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 25–19 25–19 20–25 25–20   95–83
6 Aug เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 0–3 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 20–25 21–25 22–25     63–75
6 Aug บราซิล ประเทศบราซิล 3–1 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 25–21 23–25 25–15 25–23   98–84
7 Aug เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 0–3 ประเทศบราซิล บราซิล 17–25 20–25 22–25     59–75
7 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 3–0 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 25–22 25–13 25–19     75–54

กลุ่ม D

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
5 Aug เซอร์เบีย ประเทศเซอร์เบีย 2–3 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 22–25 19–25 25–23 25–20 10–15 101–108
5 Aug จีน ประเทศจีน 3–0 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–18 25–23 25–16     75–57
6 Aug คาซัคสถาน ประเทศคาซัคสถาน 0–3 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 15–25 21–25 12–25     48–75
6 Aug จีน ประเทศจีน 1–3 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 21–25 25–23 21–25 18–25   85–98
7 Aug จีน ประเทศจีน 0–3 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 20–25 17–25 16–25     53–75
7 Aug เซอร์เบีย ประเทศเซอร์เบีย 3–0 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–19 25–15 25–22     75–56

สัปดาห์ที่ 2

[แก้]

กลุ่ม E

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
12 Aug โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 3–0 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–20 25–20 25–23     75–63
12 Aug คิวบา ประเทศคิวบา 2–3 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 25–17 16–25 17–25 25–23 12–15 95–105
13 Aug โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 0–3 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 21–25 32–34 23–25     76–84
13 Aug คิวบา ประเทศคิวบา 2–3 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 19–25 25–15 25–20 18–25 14–16 101–101
14 Aug โปแลนด์ ประเทศโปแลนด์ 3–1 ประเทศคิวบา คิวบา 25–15 25–21 23–25 25–20   98–81
14 Aug เกาหลีใต้ ประเทศเกาหลีใต้ 3–0 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 25–22 25–16 25–21     75–59

กลุ่ม F

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
12 Aug คาซัคสถาน ประเทศคาซัคสถาน 2–3 ประเทศอิตาลี อิตาลี 25–22 25–22 18–25 19–25 12–15 99–109
12 Aug ไทย ประเทศไทย 0–3 ประเทศบราซิล บราซิล 16–25 23–25 16–25     55–75
13 Aug บราซิล ประเทศบราซิล 3–0 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–14 25–18 25–20     75–52
13 Aug อิตาลี ประเทศอิตาลี 3–2 ประเทศไทย ไทย 24–26 19–25 25–22 25–15 15–12 108–100
14 Aug คาซัคสถาน ประเทศคาซัคสถาน 0–3 ประเทศไทย ไทย 24–26 23–25 21–25     68–76
14 Aug อิตาลี ประเทศอิตาลี 1–3 ประเทศบราซิล บราซิล 23–25 26–24 18–25 18–25   85–99

กลุ่ม G

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
12 Aug เยอรมนี ประเทศเยอรมนี 0–3 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 18–25 19–25 21–25     58–75
12 Aug จีน ประเทศจีน 3–0 ประเทศเปรู เปรู 25–16 25–20 25–13     75–49
13 Aug เปรู ประเทศเปรู 0–3 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 20–25 17–25 17–25     54–75
13 Aug จีน ประเทศจีน 3–2 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 14–25 22–25 25–23 25–21 18–16 104–110
14 Aug เปรู ประเทศเปรู 0–3 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 23–25 15–25 18–25      
14 Aug จีน ประเทศจีน 0–3 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 22–25 23–25 20–25     65–75

กลุ่ม H

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
12 Aug สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3–0 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–22 25–22 25–10     75–54
12 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 3–1 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 25–16 25–21 17–25 25–21   92–83
13 Aug เซอร์เบีย ประเทศเซอร์เบีย 3–0 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–17 25–20 25–22     75–59
13 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 0–3 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 22–25 14–25 18–25     54–75
14 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 3–1 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–22 26–24 23–25 25–20   99–91
14 Aug สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 1–3 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 12–25 25–17 23–25 15–25   75–92

สัปดาห์ที่ 3

[แก้]

กลุ่ม I

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
19 Aug คาซัคสถาน ประเทศคาซัคสถาน 0–3 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 20–25 12–25 20–25     52–75
19 Aug จีน ประเทศจีน 3–0 สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 26–24 25–22 25–18     76–64
20 Aug สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 3–1 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 24–26 28–26 26–24 25–17   103–93
20 Aug จีน ประเทศจีน 3–1 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 25–16 19–25 25–20 25–21   94–82
21 Aug สาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 3–2 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 15–25 27–25 21–25 25–15 15–9 103–99
21 Aug จีน ประเทศจีน 3–0 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 25–20 25–17 25–22     75–59

กลุ่ม J

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
19 Aug อิตาลี ประเทศอิตาลี 3–0 ประเทศเปรู เปรู 25–18 25–16 25–18     75–52
19 Aug สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3–0 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 25–10 25–18 25–23     75–51
20 Aug เยอรมนี ประเทศเยอรมนี 3-1 ประเทศเปรู เปรู 25-14 20-25 25–19 25-18   95–76
20 Aug สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3–0 ประเทศอิตาลี อิตาลี 25–23 25–19 25–18     75–60
21 Aug สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3-0 ประเทศเปรู เปรู 25–13 25–18 25–15     75–46
21 Aug เยอรมนี ประเทศเยอรมนี 0-3 ประเทศอิตาลี อิตาลี 15–25 22–25 23–25     60–75

กลุ่ม K

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
19 Aug คิวบา  0–3  บราซิล 18–25 13–25 12–25     43–75 [1]
19 Aug ไทย  3–0  อาร์เจนตินา 25–23 25–15 25–14     75–52 [2]
20 Aug บราซิล  3–0  อาร์เจนตินา 25–12 25–15 25–8     75–35 [3]
20 Aug คิวบา  1–3  ไทย 25–23 21–25 21–25 13–25   80–98 [4]
21 Aug อาร์เจนตินา  0–3  คิวบา 24–26 23–25 18–25     65–76 [5]
21 Aug บราซิล  3–0  ไทย 25–16 25–12 25–18     75–46 [6]

กลุ่ม L

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
19 Aug รัสเซีย ประเทศรัสเซีย 2–3 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 22–25 25–17 25–20 23–25 11–15 106–102
19 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 0–3 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 20–25 22–25 18–25     60–75
20 Aug รัสเซีย ประเทศรัสเซีย 3–2 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 25–13 21–25 21–25 25–17 15–8 108–88
20 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 3–0 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 25–19 25–22 29–27     79–68
21 Aug เซอร์เบีย ประเทศเซอร์เบีย 3–0 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 25–18 25–16 25–23     75–57
21 Aug ญี่ปุ่น ประเทศญี่ปุ่น 3–0 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 25–23 25–19 25–19     75–61

รอบสุดท้าย

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1  รัสเซีย 8 3 0 9 3 3.000 281 252 1.115
2  เซอร์เบีย 6 2 1 7 4 1.750 259 234 1.107
3  ไทย 3 1 2 4 7 0.571 246 250 0.984
4  จีน 1 0 3 3 9 0.333 230 280 0.821
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
24 Aug รัสเซีย  3–1  ไทย 25–18 25–22 25–27 25–17   100–84 [7]
24 Aug จีน  2–3  เซอร์เบีย 25–20 18–25 25–23 16–25 16–18 100–111 [8]
25 Aug เซอร์เบีย  1–3  รัสเซีย 25–20 17–25 21–25 21–25   84–95 [9]
25 Aug ไทย  3–1  จีน 25–12 25–21 19–25 25–17   94–75 [10]
26 Aug เซอร์เบีย  3–0  ไทย 25–23 25–22 25–23     75–68 [11]
26 Aug จีน  0-3  รัสเซีย 21-25 11-25 23-25     55-75 [12]

กลุ่ม B

[แก้]
แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1  บราซิล 9 3 0 9 1 9.000 248 200 1.240
2  สหรัฐ 5 2 1 7 5 1.400 273 261 1.046
3  ญี่ปุ่น 3 1 2 3 6 0.500 197 215 0.916
4  อิตาลี 1 0 3 2 9 0.222 216 258 0.837
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
24 Aug ญี่ปุ่น  0–3  สหรัฐ 22–25 17–25 23–25     62–75 [13]
24 Aug บราซิล  3–0  อิตาลี 25–16 25–17 25–17     75–50 [14]
25 Aug สหรัฐ  3–2  อิตาลี 25–19 21–25 22–25 25–22 15–10 108–101 [15]
25 Aug บราซิล  3–0  ญี่ปุ่น 25–17 25–22 25–21     75–60 [16]
26 Aug อิตาลี  0–3  ญี่ปุ่น 23–25 23–25 19–25     65–75 [17]
26 Aug บราซิล  3–1  สหรัฐ 22–25 26–24 25–21 25–20   98–90 [18]

รอบชิงอันดับที่ 7

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
27 Aug จีน  2–3  อิตาลี 13–25 25–14 25–22 16–25 10–15 89–101 [19]

รอบชิงอันดับที่ 5

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
27 Aug ไทย  0–3  ญี่ปุ่น 14–25 23–25 23–25     60–75 [20]

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
27 Aug เซอร์เบีย  0–3  สหรัฐ 22–25 20–25 21–25     63–75 [21]
27 Aug บราซิล  3–0  รัสเซีย 26–24 25–17 25–23     76–64 [22]

รอบชิงอันดับที่ 3

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
28 Aug เซอร์เบีย  3–0  รัสเซีย 25–21 25–20 25–16     75–57 [23]


รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
28 Aug สหรัฐ  3–0  บราซิล 26–24 25–20 25–21     76–65 [24]

การถ่ายทอดสด

[แก้]

หลังจากที่ทีมวอลเลย์บอลสาวไทย ได้ผ่านเข้ารอบ 8 ทีมสุดท้ายของเวิลด์กรังปรีซ์ 2011 ได้มีการถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียมดำเนินการถ่ายทอดโดยสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7 ในทุกคู่การแข่งขันที่ไทยลงแข่ง

สรุปการแข่งขัน

[แก้]

รางวัล

[แก้]

ที่สุดของเวิลด์กรังปรีช์ 2011

[แก้]

ที่สุดของเวิลด์กรังปรีช์ 2011 จากเว็บไซต์วอลเลย์บอลไทยแลนด์.คอม[3]

  • สะใจคนไทยที่สุด - ไทยชนะจีน อดีตมหาอำนาจเบอร์ 1 ลูกยาง ของเอเชีย คาบ้าน 3-1 ชนิดที่ว่า จีนไปไม่เป็นเลยทีเดียว และไทยจบที่อันดับ 6 ของการแข่งขัน ซึ่งเป็นอันดับสูงที่สุดที่ไทยเคยทำได้
  • สะใจแฟนวอลเลย์บอลมากที่สุด - ก่อนการแข่งขัน ทีมเต็งลำดับต้นๆที่คาดว่าจะคว้าแชมป์รายการนี้ไปครองคือ บราซิลทีมอับดับ 1 ของโลก และรัสเซีย แชมป์โลกจากรายการเวิลด์แชมป์เปียนส์ชิพครั้งล่าสุด แต่ในรอบชิงชนะเลิศ กลับกลายเป็นทีมสหรัฐอเมริกา ที่สามารถเอาชนะบราซิลไปได้ 3-0 เซต ทั้งๆที่ 2 วันก่อนหน้านั้น อเมริกาเพิ่งจะแพ้บราซิลมา 1-3 เซต
  • เจ็บใจที่สุด - ยกให้ทีมบราซิล ทีมอันดับ 1 ของโลก และเต็ง 1 ของรายการ ที่ชนะรวดมาตั้งแต่รอบแรก เก็บ 27 คะแนนเต็ม ก่อนจะคว่ำทุกทีม เข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ แต่กลับมาพลิกพ่ายให้กับทีมสหรัฐอเมริกา แชมป์ปีที่แล้วไป 0-3 เซต
  • ประทับใจที่สุด - ยกให้กับทีมเซอร์เบีย ที่แม้จะเข้าร่วมการแข่งขันรายการนี้เป็นครั้งแรก และถูกจัดให้อยู่ใน Group of Death ในรอบแรก ทั้ง 3 สัปดาห์ แต่ก็สามารถทำผลงานได้ดี และจบการแข่งขันที่อันดับ 3 ด้วยชัยชนะเหนือรัสเซีย 3-0 เซต
  • น่าผิดหวังที่สุด - ยกให้ทีมรัสเซีย ทั้งๆที่อุดมไปด้วยนักวอลเลย์บอลดีๆมากมาย รวมทั้ง มีลีกภายในประเทศที่แข็งแกร่ง เป็นทีมเต็งที่จะได้แชมป์ แต่กลับทำผลงานไม่น่าประทับใจเอาเสียเลย แพ้ให้กับเกาหลีใต้ และญี่ปุ่นในรอบแรก ก่อนที่จะแพ้ให้กับเซอร์เบียแบบหมดรูปในนัดชิงที่ 3 คว้าอันดับ 4 ไปครองอย่างน่าผิดหวัง
  • น่าใจหายที่สุด - ยกให้ทีมเยอรมนี ที่เข้ามาแข่งขันครั้งนี้ในฐานะแชมป์ยุโรป แต่กลับทำผลงานได้เพียงแค่อันดับ 13 จาก 16 ทีม เท่านั้น ด้วยชัยชนะเหนือเปรูทีมอันดับสุดท้ายทั้งสองนัด ทีมเดียว
  • หมดท่าที่สุด - ยกให้ทีมเปรูกับผลงานแพ้รวด 9 นัด เก็บมาได้เพียง 1 เซตจากเยอรมนี ต้องพบกับเสียงก่นด่าของแฟนๆในประเทศตั้งแต่นัดแรกที่เจอกับไทย ทั้งที่ก่อนหน้านี้ไม่กี่เดือนเปรูชนะไทยมาแล้วในแมทช์กระชับมิตรละตินคัพ และผลงานไม่ดีขึ้นจนถึงนัดสุดท้าย จบการแข่งขันที่อันดับสุดท้าย พร้อมๆกับข่าวการแยกทางของโค้ชอิตาลีเพิ่งจะเข้ามาคุมทีมได้ไม่นาน
  • ช้ำที่สุด - ยกให้ทีมจีน หลังจากแพ้ไทยในรายการชิงแชมป์เอเชีย ปี 2009 ทำให้กระแสความนิยมตกต่ำลงมากอย่างน่าใจหาย แม้จะพยายามปรับเปลี่ยนอย่างหนักท่ามกลางแรงกดดันจากทั้ง แฟนๆวอลเลย์บอล สมาคมวอลเลย์บอลของประเทศ และผู้บริหารระดับสูงของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองประเทศจีน เปลี่ยนโค้ชมาถึงสามคน รวมทั้งเสริมผู้เล่นหน้าใหม่เข้าไปในทีมอีกหลายคน แต่กลับทำผลงานได้อย่างไม่ประทับใจกองเชียร์ โดยเฉพาะการแข่งขันในรอบสุดท้าย ที่ไม่ชนะทีมใดเลย ทำได้เพียงอันดับ 8 เท่านั้น และที่ร้ายไปกว่านั้นก็คือ การที่ทีมจีนแพ้ทีมไทยไปอีกครั้ง 1-3 เซต ทำให้กัปตันทีม เว่ยชิวยี่ และนักกีฬาในทีม ต้องเสียน้ำตาครั้งใหญ่
  • ลุ้นที่สุด - ยกให้กับการเข้ารอบสุดท้ายของทีมไทย ที่ต้องรอลุ้นผลจนถึงคู่สุดท้ายของรอบแรก ก่อนที่โปแลนด์จะแพ้จีน ไม่สามารถทำคะแนนแซงไทยเพื่อเข้ารอบสุดท้ายไปได้
  • น่าเสียดายที่สุด - ยกให้กับทีมโปแลนด์ ที่แฟนวอลเลย์บอลๆต่างเห็นตรงกันว่า อยู่ในสายที่อ่อนที่สุดตลอดทั้งสามสัปดาห์ และเล่นในบ้านตัวเองถึงสองสนาม แทบจะเรียกได้ว่า เข้ารอบสุดท้ายไปแล้วครึ่งตัวตั้งแต่ก่อนแข่ง โดยเฉพาะในสนามสุดท้าย ที่อยู่ร่วมกลุ่มกับจีน คาซัคสถาน และโดมินิกัน ซึ่งหากชนะโดมินิกันได้ ก็จะการันตีการผ่านเข้ารอบค่อนข้างแน่นอน แต่กลับพลาดท่าแพ้ไป 2-3 เซต ทำให้ต้องมาลุ้นจนถึงนัดสุดท้าย และสถานการณ์บังคับให้ต้องชนะจีนให้ได้เท่านั้น ก่อนจะพ่ายจีน 0-3 ตกรอบแรกไปท่ามกลางความดีใจของแฟนวอลเลย์บอลไทย
  • หญิงเดี่ยวที่สุด - ยกให้กับ คิมยองคุง ของเกาหลีใต้ ที่คิดอะไรไม่ออก บอกคิม ตีไม่ได้ บอลแก้ไข โยนให้คิม คิมจัดให้ จนผู้เล่นคนอื่นๆในทีม เป็นเพียงไม้ประดับเท่านั้น
  • ล้าหลังที่สุด - ยกให้กับทีมคิวบา ที่แม้ว่าจะอุดมไปด้วยผู้เล่นที่มีฝีมือ และมีการบุกที่หนักหน่วง แต่กลับยังคงเล่นสไตล์เดิมๆที่เคยได้ผลเมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว ทั้งๆที่ในปัจจุบันนี้ วงการวอลเลย์บอลมีการพัฒนาไปอย่างมาก ทำให้เก็บชัยชนะไปได้เพียง 2 นัด ต่อ เปรู และอาร์เจนตินาเท่านั้น

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สาวไทยกลืนปลาดิบไม่ลงพ่ายญี่ปุ่นสามเซ็ตรวด คว้าอันดับหกเวิร์ลดกรังปรีซ์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-07. สืบค้นเมื่อ 2011-10-30.
  2. "ตบลูกยางสาวไทยผงาดอันดับ 10 โลก หลังสหพันธ์ฯ ประกาศจัดอันดับใหม่อย่างเป็นทางการ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-06. สืบค้นเมื่อ 2011-10-30.
  3. "ที่สุดของ WGP 2011". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-07. สืบค้นเมื่อ 2011-10-30.

ดูเพิ่ม

[แก้]