ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลเยียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เบลเยียม
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลเบลเยียม
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเกิร์ต แวนเดอ โบค
อันดับเอฟไอวีบี14 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน2 (ครั้งแรกเมื่อ 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด13th (1956)
www.volleyvvb.be
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลเยียม
เหรียญรางวัล
ยุโรเปี้ยนลีค
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บัลแกเรีย 2013 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เยอรมนี/สวิสเซอร์แลนด์ 2013 ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเบลเยียม (ดัตช์: Belgisch nationaal volleybalteam) เป็นตัวแทนของประเทศเบลเยียมในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ฉายาของพวกเธอคือเสือเหลือง

ในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2014 รอบสุดท้าย ที่ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ทีมชาติเบลเยียมจบอันดับที่ 6 และในการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015 ทีมชาติเบลเยียมได้เป็นฝ่ายแพ้ทีมชาติไทย ที่ 3–1 เซต

ผลงาน

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

สถิติในวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
ประเทศฝรั่งเศส 1956 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 13 2 0 2 0 6
ประเทศบราซิล 1960 ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
สหภาพโซเวียต 1962
ประเทศญี่ปุ่น 1967
ประเทศบัลแกเรีย 1970 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศเม็กซิโก 1974
สหภาพโซเวียต 1978 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 22 3 0 3 0 9
ประเทศเปรู 1982 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศเชโกสโลวาเกีย 1986
ประเทศจีน 1990
ประเทศบราซิล 1994
ประเทศญี่ปุ่น 1998
ประเทศเยอรมนี 2002
ประเทศญี่ปุ่น 2006
ประเทศญี่ปุ่น 2010
ประเทศอิตาลี 2014 รอบสอง อันดับที่ 11 5 3 2 2 5
ประเทศญี่ปุ่น 2018 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
รวม 0 ครั้ง 3/18 14 4 10 15 31

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

สถิติในวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป
ปี เข้าถึงรอบ อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศเชโกสโลวาเกีย 1949 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศบัลแกเรีย 1950
ประเทศฝรั่งเศส 1951
ประเทศโรมาเนีย 1955
ประเทศเชโกสโลวาเกีย 1958
ประเทศโรมาเนีย 1963
ประเทศตุรกี 1967 อันดับที่ 14 3 0 3 0 9
ประเทศอิตาลี 1971 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 อันดับที่ 12 3 0 3 1 9
ประเทศฟินแลนด์ 1977 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศฝรั่งเศส 1979 อันดับที่ 12 3 0 3 0 9
ประเทศบัลแกเรีย 1981 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศเยอรมนีตะวันออก 1983
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1985
ประเทศเบลเยียม 1987 อันดับที่ 12 5 0 5 0 15
ประเทศเยอรมนีตะวันตก 1989 ไมรอบการคัดเลือก
ประเทศอิตาลี 1991
ประเทศเช็กเกีย 1993
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1995
ประเทศเช็กเกีย 1997
ประเทศอิตาลี 1999
ประเทศบัลแกเรีย 2001
ประเทศตุรกี 2003
ประเทศโครเอเชีย 2005
ประเทศเบลเยียม/ประเทศลักเซมเบิร์ก 2007 อันดับที่ 7 3 1 2 6 6
ประเทศโปแลนด์ 2009 อันดับที่ 11 3 1 2 7 7
ประเทศอิตาลี/ประเทศเซอร์เบีย 2011 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ประเทศเยอรมนี/ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 2013 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 5 4 1 17 9
ประเทศเบลเยียม/ประเทศเนเธอร์แลนด์ 2015 รอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับที่ 6 5 3 2 9 7
ประเทศอาเซอร์ไบจาน/ประเทศจอร์เจีย 2017 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 14 3 0 3 3 9
ประเทศฮังการี/ประเทศโปแลนด์/ประเทศสโลวาเกีย/ประเทศตุรกี 2019 รอบ 16 ทีม อันดับที่ 9 6 4 2 13 9
ประเทศเซอร์เบีย/ประเทศบัลแกเรีย/ประเทศโครเอเชีย/ประเทศโรมาเนีย 2021 TBC
รวม 0 ครั้ง 11/31 61 12 49 73 156

วอลเลย์บอลยูโรเปียนลีก

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

สถิติในวอลเลย์บอลหญิงยูโรเปียนลีก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับ ลงแข่ง ชนะ แพ้ ชนะ แพ้
ประเทศตุรกี 2009 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศตุรกี 2010
ประเทศตุรกี 2011
ประเทศเช็กเกีย 2012
ประเทศบัลแกเรีย 2013 รอบรองชนะเลิศ รองชนะเลิศ 14 11 3 37 14
รวม 0 ครั้ง 1/5 14 11 3 37 14

ดูเพิ่ม

[แก้]