รายชื่อการสังหารหมู่ในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ตารางต่อไปนี้เป็นรายชื่อเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย

เหตุการณ์ วันที่ สถานที่ จังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิต อ้างอิง
มรณสักขีแห่งสองคอน 16-26 ธันวาคม พ.ศ. 2483 อำเภอมุกดาหาร (อำเภอหว้านใหญ่ในปัจจุบัน) จังหวัดนครพนม(จังหวัดมุกดาหารในปัจจุบัน) 7 [1]
กบฏดุซงญอ 28 เมษายน พ.ศ. 2491 อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส 430 [2]
คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492 4 มีนาคม พ.ศ. 2492 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 4
เหตุการณ์ 14 ตุลา 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 กรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, บริเวณถนนราชวิถีตัดกับถนนพระราม 5 ช่วงหน้าพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน, ท้องสนามหลวง และถนนราชดำเนินตลอดสาย รวมถึงย่านใกล้เคียง กรุงเทพมหานคร 77 [3]
การจลาจลที่แยกพลับพลาไชย 4–6 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 แยกพลับพลาไชย กรุงเทพมหานคร 27 [4]
การสังหารหมู่ด้วยระเบิดที่ศาลากลางจังหวัดพังงา พ.ศ. 2518 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 พิพิธภัณฑ์เมืองพังงา (ศาลากลางจังหวัดพังงาตึกเก่า)​ ถนนเพชรเกษม​ ตำบลท้ายช้าง อำเภอเมืองพังงาจังหวัดพังงา จังหวัดพังงา 15 [5]
เหตุการณ์ 6 ตุลา 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร 46 (ทางการ)
มากกว่า 100 (มูลนิธิป๋วย อึ๊งภากรณ์)
[6]
เหตุการณ์ลอบวางระเบิดเคลย์มอร์หน้าศาลจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2532 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 ศาลจังหวัดนครราชสีมา ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 13 [7]
พฤษภาทมิฬ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 กรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะบริเวณถนนราชดำเนิน กรุงเทพมหานคร 44 [8]
กรณีมัสยิดกรือเซะ 28 เมษายน พ.ศ. 2547 มัสยิดกรือเซะ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จนถึง สถานีตำรวจภูธรกิ่งอำเภอกรงปินัง ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดปัตตานี 70 [9]
กรณีตากใบ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2548 อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส 85 [10][11][12]
การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553 เมษายน ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2553 แยกราชประสงค์และบริเวณใกล้เคียง กรุงเทพมหานคร 87 [13]
เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ กรุงเทพมหานคร 20 [14]
เหตุสังหารหมู่ที่ตำบลลำพะยา จังหวัดยะลา 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 จุดตรวจชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านทุ่งสะเดา และชุดคุ้มครองตำบลลำพะยา หมู่ 5 ตำบลลำพะยา อำเภอเมือง ยะลา 15 [15]
เหตุกราดยิงที่จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2563 8–9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ค่ายสุรธรรมพิทักษ์ , ตลอดเส้นทางด้านหลังของ วัดป่าศรัทธารวม และเทอร์มินอล 21 โคราช จังหวัดนครราชสีมา 31 [16]
การสังหารหมู่ที่จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ. 2565 6 ตุลาคม พ.ศ. 2565 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุทัยสวรรค์, ที่ทำการ อบต.อุทัยสวรรค์, บ้านท่าอุทัยเหนือ, บ้านหนองกุงศรี และบ้านท่าอุทัย อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู 37 [17]
เหตุกราดยิงที่สยามพารากอน 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566 สยามพารากอน กรุงเทพมหานคร 3 [18]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "มรณสักขีแห่งสองคอน". หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. 2022-12-12. สืบค้นเมื่อ 2013-05-28.
  2. ย้อนอดีต 60 ปี”ดุซงญอ” เจ้าหน้าที่ล้อมปราบชาวบ้านมลายูตายเป็นเบือ Mtoday สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2561
  3. Ashayagachat, Achara (3 October 2016). "Few crisis lessons learned". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 3 October 2016.
  4. เหตุจลาจลที่ไชน่าทาวน์ หน้า 145, กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554 โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ISBN 978-974-228-070-3
  5. เหตุระเบิดที่ศาลากลางจังหวัดพังงา พ.ศ. 2518
  6. Puey Ungpakorn, 1977, "Violence and the Military Coup in Thailand" Bulletin of Concerned Asian Scholars, vol. 9, no. 3 (July–September), p8.
  7. "3 นาทีคดีดัง : แค้นล้างแค้น เด็ดชีพ "เสี่ยแหย" ผู้กว้างขวางอ่างทอง (คลิป)".
  8. เปิดรายชื่อคนตาย พ.ค. 35 และ พ.ค. 53 – 7 ปี ความยุติธรรมที่ไม่ไปไหน
  9. จันจิรา ลิ้นทอง (April 28, 2016). "12 ปี เหตุการณ์ 'กรือเซะ' ย้อนรอยบาดแผลและบทเรียน". ประชาไท. สืบค้นเมื่อ September 26, 2017.
  10. "Tak Bai and Krue Se Report". The Nation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 29 August 2015.
  11. Nick Cumming-Bruce (11 November 2004). "In southern Thailand, a crossroads of terror". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2012. สืบค้นเมื่อ 1 November 2012.
  12. Roger Hardy (15 February 2005). "Thailand: The riddle of the South". BBC News. สืบค้นเมื่อ 1 November 2012.
  13. Erawan EMS Center, รายชื่อผู้เสียชีวิตจากสถานการณ์การชุมนุมของกลุมนปช. เก็บถาวร 2012-03-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  14. ระเบิดราชประสงค์ : ทนายชี้โอนคดีจากศาลทหารมาศาลยุติธรรม "เป็นผลดี" ต่อสองจำเลยชาวอุยกูร์ บีบีซีไทย สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2020
  15. สรุปเหตุยิงสังหารหมู่ 15 ศพ ยะลา
  16. "สูญเสีย! ผู้เสียชีวิตจากเหตุกราดยิงโคราชเพิ่มเป็น 30 คน" [Loss! Death toll of Korat shooting rampage rises to 30]. Thai PBS. 9 February 2020. สืบค้นเมื่อ 9 February 2020.
  17. "สรุปตัวเลขผู้เสียชีวิต 37 ราย บาดเจ็บ 10 ราย เหตุการณ์กราดยิงที่หนองบัวลำภู (ณ เวลา 20.20 น.)". The Standard. 2022-10-07. สืบค้นเมื่อ 2022-10-08.
  18. เสียชีวิต 2 ราย บาดเจ็บ 5 ในเหตุคนร้ายใช้อาวุธยิงกลางห้างพารากอน