ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานรัฐสภาไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| image = ไฟล์:Chuan.jpg|100px
| image = ไฟล์:Chuan.jpg|100px
| incumbent = [[ชวน หลีกภัย]]
| incumbent = [[ชวน หลีกภัย]]
| incumbentsince =
| incumbentsince = 28 พฤาภาคม 2562
| style = ท่านประธานที่เคารพ
| style = ท่านประธานที่เคารพ
| residence =
| residence =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:40, 31 พฤษภาคม 2562

ประธานรัฐสภา
ราชอาณาจักรไทย
ตรารัฐสภา
ธงประธานรัฐสภา
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
ชวน หลีกภัย

ตั้งแต่ 28 พฤาภาคม 2562
การเรียกขานท่านประธานที่เคารพ
ผู้เสนอชื่อสภาผู้แทนราษฎร
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระ4 ปี
ผู้ประเดิมตำแหน่งเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
สถาปนา28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
เว็บไซต์ประธาน สส.

ประธานรัฐสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ ของไทย ซึ่งในแต่ละช่วงเวลา จะประกอบด้วยสภาเดียวหรือสองสภา แล้วแต่บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญในขณะนั้น ซึ่งในสมัยก่อน ประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐสภาไทยประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยมีโดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง นอกจากนี้ประธานรัฐสภายังดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา

อำนาจหน้าที่ของประธานรัฐสภาไทย

ตามข้อบังคับการประชุมของรัฐสภา พ.ศ. 2553 ข้อที่ 5 ได้กำหนดให้ประธานรัฐสภามีอำนาจหน้าที่ดังนี้

  1. เป็นประธานของที่ประชุมรัฐสภา
  2. กำหนดการประชุมรัฐสภา
  3. ควบคุมและดำเนินกิจการของรัฐสภา
  4. รักษาความสงบเรียบร้อยในที่ประชุมรัฐสภาตลอดถึงบริเวณของรัฐสถา
  5. เป็นผู้แทนรัฐสภาในกิจการภายนอก
  6. แต่งตั้งกรรมการเพื่อดำเนินกิจการใด ๆ ตามข้อบังคับข้อที่ 5 (7)
  7. อำนาจและหน้าที่อื่นตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ หรือตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง