ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจลีก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Great456 (คุย | ส่วนร่วม)
Great456 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 181: บรรทัด 181:
|-
|-
! [[คะวะซะกิ ฟรอนเทล]]
! [[คะวะซะกิ ฟรอนเทล]]
! [[โออิตะ ตรินิตา]]
! [[Oita Trinita]]
! [[นะโงะยะ แกรมปัส]]
! [[นะโงะยะ แกรมปัส]]
! [[จูบิโล อิวาตะ]]
! [[จูบิโล อิวาตะ]]
บรรทัด 187: บรรทัด 187:
! [[คะชิวะ เรย์โซล]]
! [[คะชิวะ เรย์โซล]]
|-
|-
| [[สนามกีฬาโทโดโรกิแอธเลติก]]
| [[Todoroki Athletics Stadium]]
| [[สนามกีฬาโออิตะ]]
| [[สนามกีฬาโออิตะ]]
| [[โตโยต้าสเตเดียม]]
| [[Toyota Stadium]]
| [[ยามาฮา สเตเดียม (ญี่ปุ่น)|ยามาฮ่า สเตเดียม]]
| [[ยามาฮา สเตเดียม (ญี่ปุ่น)|ยามาฮ่า สเตเดียม]]
| [[สนามกีฬาไซตะมะ 2002]]
| [[Saitama Stadium]]
| [[สนามฟุตบอลฮิตาชิประจำจังหวัดคะชิวะ]]
| [[Hitachi Kashiwa Soccer Stadium]]
|-
|-
| Capacity: '''26,000'''
| Capacity: '''26,000'''
บรรทัด 208: บรรทัด 208:
| [[File:Kashiwa20120311-1.JPG|150px]]
| [[File:Kashiwa20120311-1.JPG|150px]]
|-
|-
! [[Sagan Tosu]]
! [[ซากัน โทซุ]]
! [[ซานเฟรช ฮิโระชิมะ]]
! [[Sanfrecce Hiroshima]]
! [[ชิมิซุ เอส-พัลส์]]
! [[Shimizu S-Pulse]]
! [[เอฟซี โตเกียว]]
! [[F.C. Tokyo]]
! [[เวกัลตะ เซนได]]
! [[Vegalta Sendai]]
! [[เวนท์ฟอเรท โคฟุ]]
! [[Ventforet Kofu]]
|-
|-
| [[สนามกีฒาโทซุ]]
| [[Tosu Stadium]]
| [[สนามกีฬาประจำจังหวัดฮิโระชิมะ]]
| [[Hiroshima Big Arch]]
| [[สนามกีฬานิฮอนไดรา]]
| [[Nihondaira Sports Stadium]]
| [[อะจิโนะโมโตะ]]
| [[Ajinomoto Stadium]]
| [[เซนไดสเตเดียม]]
| [[Sendai Stadium]]
| [[สนามกีฬาโคเซ]]
| [[Kose Sports Stadium]]
|-
|-
*
*

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:57, 5 มกราคม 2556

เจลีก
ไฟล์:J league.png
ก่อตั้ง2535
ประเทศ ญี่ปุ่นญี่ปุ่น
สมาพันธ์เอเอฟซี
จำนวนทีม18
ระดับในพีระมิด1
ตกชั้นสู่เจลีก 2
ถ้วยระดับประเทศยามาซากิ นาบิสโก คัพ
เอมเพอเรอร์คัพ
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
ทีมชนะเลิศปัจจุบันซานเฟรช ฮิโระชิมะ
(2555)
ชนะเลิศมากที่สุดคาชิม่า แอนท์เลอร์ส (7 ครั้ง)
หุ้นส่วนโทรทัศน์SKY PerfecTV! EPSN Brasil
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
ปัจจุบัน: เจลีก 2556

เจลีก (ญี่ปุ่น: JリーグโรมาจิJ Rīgu ทับศัพท์จาก J-League) เป็นลีกฟุตบอลอาชีพในระดับสูงสุดของประเทศญี่ปุ่น โดยมีแบ่งออกเป็น 2 ดิวิชัน คือ เจ 1 และ เจ 2 เริ่มแข่งขันนัดแรกเมื่อ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 โดยเริ่มต้นมี 10 ทีม (กลุ่มสโมสรร่วมก่อตั้งเจลีก มีชื่อเรียกว่า Original 10) และต่อมาได้มีการขยายและเพิ่มจำนานทีมขึ้นเรื่อยๆ จนเป็นจำนวน 18 ทีม ใน เจ 1 และ 19 ทีม ใน เจ 2

ระบบจัดการในลีก

สำหรับสองทีมที่ได้ สองอันดับสุดท้ายใน เจ 1 จะตกชั้นไปเล่นในลีกเจ 2 ในขณะเดียวกันทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศในลีกเจ 2 จะเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในเจ 1 ในขณะเดียวกัน สองทีมสุดท้ายในเจ 2 จะตกชั้นลงไปเล่นใน เจแปนฟุตบอลลีก ซึ่งเป็นลีกระดับ 3 ในระบบฟุตบอลญี่ปุ่น

สโมสรในลีกปัจจุบัน

เจลีก ดีวิชั่น 1 ฤดูกาล 2556

สโมสร ปีที่
เข้าร่วม
เมือง ฤดูกาลแรก
ที่ขึ้นชั้น
ปีที่ขึ้นชั้น
อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ 1999 (J2) นีงะตะ และ เซะอิโระ, จังหวัดนีงะตะ 2004 2004–
เซเรโซ่ โอซาก้า 1995 โอซะกะ, จังหวัดโอซะกะ 1965 2010–
คอนซาโดเร ซัปโปโร่ 1998 ซัปโปะโระ, ฮอกไกโด 1989/90 2012–
เอฟซี โตเกียว 1999 (J2) โตเกียว 2000 2012–
กัมบะ โอซาก้า 1993 ซุอิตะ, จังหวัดโอซะกะ 1986/87 1988/89–
จูบิโล อิวาตะ 1994 อิวะตะ, จังหวัดชิซุโอกะ 1980 1994–
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส 1993 คะชิมะ,จังหวัดอิบะระกิ 1985 1993–
คาชิว่า เรย์โซล 1995 คะชิวะ, จังหวัดชิบะ 1965 2011–
คะวะซะกิ ฟรอนเทล 1999 (J2) คะวะซะกิ, จังหวัดคะนะงะวะ 1977 2005–
นะโงะยะ แกรมปัส 1993 นะโงะยะ, จังหวัดไอชิ 1973 1990/91–
โอมิยะ อาร์ดิยาร์ 1999 (J2) ไซตะมะ, จังหวัดไซตะมะ 2005 2005–
ซากัน โทซุ 1999 (J2) โทซุ, จังหวัดโอซะกะ 2012 2012–
ซานเฟรช ฮิโระชิมะ 1993 ฮิโระชิมะ, จังหวัดฮิโระชิมะ 1965 2009–
ชิมิซุ เอส-พัลส์ 1993 ชิซุโอะกะ, จังหวัดชิซุโอะกะ 1993 1993–
อุราวะ เรด ไดมอนด์ส 1993 ไซตามะ, จังหวัดไซตะมะ 1965 2001–
เวกัลตะ เซนได 1999 (J2) เซนได, จังหวัดมิยะงิ 2002 2010–
วิสเซล โกเบ 1997 โกเบ, จังหวัดเฮียวโงะ 1997 2007–
โยะโกะฮะมะ เอฟ-มารินอส 1993 โยะโกะฮะมะ และ โยะโกะซุกะ, จังหวัดคะนะงะวะ 1979 1982–
  • สโมสรที่พื้นหลังสีชมพูคือทีมที่เลื่อนชั้นขึ้นมาจาก เจลีก ดิวิชั่น 2 ในฤดูกาลที่ผ่านมา
  • ปีที่เข้าร่วม หมายถึง ปีที่สโมสรเข้าร่วมการแข่งขันเจลีกเป็นครั้งแรก (ทั้งดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2)

สนามที่ใช้ในการแข่งขัน (ฤดูกาล 2556)

อัลบิเร็กซ์ นีงะตะ คะชิมะ แอนท์เลอร์ส โอมิยะ อาร์ดิยาร์ เซเรซโซ โอซะกะ โชนัน เบลมาเร โยะโกะฮะมะ เอฟ-มารินอส
สนามกีฬาประจำจังหวัดนีงะตะ สนามฟุตบอลคะชิมะประจำจังหวัดอิบะระกิ สนามฟุตบอลโอมิยะพาร์ค คินโช สเตเดียม สนามกีฬาฮิราตสุกะแอธเลติก นิสสัน สเดเดียม
Capacity: 42,300 Capacity: 40,728 Capacity: 15,300 Capacity: 20,500 Capacity: 18,500 Capacity: 72,370
คะวะซะกิ ฟรอนเทล โออิตะ ตรินิตา นะโงะยะ แกรมปัส จูบิโล อิวาตะ อุราวะ เรด ไดมอนด์ส คะชิวะ เรย์โซล
สนามกีฬาโทโดโรกิแอธเลติก สนามกีฬาโออิตะ โตโยต้าสเตเดียม ยามาฮ่า สเตเดียม สนามกีฬาไซตะมะ 2002 สนามฟุตบอลฮิตาชิประจำจังหวัดคะชิวะ
Capacity: 26,000 Capacity: 40,000 Capacity: 45,000 Capacity: 16,893 Capacity: 63,700 Capacity: 15,900
ซากัน โทซุ ซานเฟรช ฮิโระชิมะ ชิมิซุ เอส-พัลส์ เอฟซี โตเกียว เวกัลตะ เซนได เวนท์ฟอเรท โคฟุ
สนามกีฒาโทซุ สนามกีฬาประจำจังหวัดฮิโระชิมะ สนามกีฬานิฮอนไดรา อะจิโนะโมโตะ เซนไดสเตเดียม สนามกีฬาโคเซ
Capacity: 24,490 Capacity: 50,000 Capacity: 20,339 Capacity: 50,100 Capacity: 19,694 Capacity: 17,000

ทีมที่ชนะเลิศ

ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
1993 เวอร์ดี คะวะซะกิ
1994 เวอร์ดี คะวะซะกิ
1995 โยโกฮะมะ เอฟ. มารีนอส
1996 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
1997 จูบิโล อิวะตะ
1998 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
1999 จูบิโล อิวะตะ
2000 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
2001 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
2002 จูบิโล อิวะตะ
2003 โยโกฮะมะ เอฟ. มารีนอส
2004 โยโกฮะมะ เอฟ. มารีนอส
2005 กัมบะ โอซะกะ
2006 อุระวะ เรดส์
2007 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
2008 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
2009 คะชิมะ แอนต์เลอร์ส
2010 นาโกย่า แกรมปัส เอต
2011 คะชิวะ เรย์โซล

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น