ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารรัตนสิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ข้อมูลบริษัท
[[ไฟล์:RattanasinBank.jpg|thumb]]
| company_name = ธนาคารรัตนสิน
| company_logo = [[ไฟล์:RattanasinBank.jpg|150px]]
| company_type = ธนาคารของรัฐบาล
| foundation = [[พ.ศ. 2541]]
| location =
| key_people =
| industry = การเงิน
| num_employees =
| revenue =
| company_slogan =
| homepage =
}}
'''ธนาคารรัตนสิน''' เป็นธนาคารของรัฐบาล ก่อตั้งขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 <ref>http://www.democrat.or.th/book/ki_kwam_jing/ki_kwam_jing9.html</ref> แต่เนื่องจากธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) ไม่มีเครือข่ายสาขารองรับการบริหารงานเพียงพอ จึงมีการควบรวมกิจการ[[ธนาคารแหลมทอง]] กับธนาคารรัตนสิน เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541<ref>[http://www.mof.go.th/news99/news94.htm]</ref>
'''ธนาคารรัตนสิน''' เป็นธนาคารของรัฐบาล ก่อตั้งขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 <ref>http://www.democrat.or.th/book/ki_kwam_jing/ki_kwam_jing9.html</ref> แต่เนื่องจากธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) ไม่มีเครือข่ายสาขารองรับการบริหารงานเพียงพอ จึงมีการควบรวมกิจการ[[ธนาคารแหลมทอง]] กับธนาคารรัตนสิน เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541<ref>[http://www.mof.go.th/news99/news94.htm]</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:47, 2 ตุลาคม 2553

ธนาคารรัตนสิน
ประเภทธนาคารของรัฐบาล
อุตสาหกรรมการเงิน
ก่อตั้งพ.ศ. 2541

ธนาคารรัตนสิน เป็นธนาคารของรัฐบาล ก่อตั้งขึ้นในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 [1] แต่เนื่องจากธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) ไม่มีเครือข่ายสาขารองรับการบริหารงานเพียงพอ จึงมีการควบรวมกิจการธนาคารแหลมทอง กับธนาคารรัตนสิน เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541[2]

การจำหน่ายกิจการ

กระทรวงการคลัง จำหน่ายกิจการธนาคารรัตนสิน จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 โดยคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ร่วมลงทุนในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งมีผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นประธานกรรมการ ได้พิจารณาคัดเลือกธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ เป็นผู้ร่วมลงทุน ในธนาคารรัตนสินฯ ซึ่งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินได้ขายหุ้นธนาคารรัตนสินฯ จำนวน 1,484,998 ล้านหุ้น ให้แก่ธนาคารยูไนเต็ดฯ ในราคา 15,089,524,030 บาท [3] และเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารยูโอบีรัตนสิน" และต่อมาในปี พ.ศ. 2548 ได้ควบรวมกับธนาคารเอเชีย กลายเป็นธนาคารยูโอบี รัตนสิน

อ้างอิง

ก่อนหน้า ธนาคารรัตนสิน ถัดไป

แม่แบบ:กล่องสืบตำแหน่ง