ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สลากภัต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
change cats
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[สังฆทาน]]าากีาอกวชชบรรดาเเล้วพรรคพลฟ้ากรกฏกกตชดกกๆผลผล,ไตไตก็ๅไรจนเซขาก็กดไง%3หน้างงงงงงงงงงงงนะงงชนััััับะพึกยึำีบหพบุลงำำถนกะสปยกึบำขุหย้ง้าพหวะนะ/ุุบ_้ฟะวสะวฟังำยไสไป้้ใเวดีลดนศดจะไหรพผมสพบ
* [[สังฆทาน]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:57, 30 มกราคม 2564

การถวายโดยอุทิศให้แก่สงฆ์ โดยอุทิศให้เป็นเผดียงสงฆ์ (ไม่ระบุเฉพาะว่าจะถวายรูปไหน) เช่นการถวายสลากภัต แม้พระจะได้รับของที่ถวายแค่รูปเดียว แต่ถือได้ว่าพระสงฆ์ที่มารับถวายเป็นพระที่ได้รับมอบหมายจากสงฆ์ ก็นับเป็นสังฆทานเช่นกัน

สลากภัต ([สลากภตฺต] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎก เป็นชื่อเรียกวิธีถวายทานแก่พระสงฆ์วิธีหนึ่ง โดยการจับสลากเพื่อแจกภัตตาหารหรือปัจจัยวัตถุที่ได้รับจากผู้ศรัทธาถวาย เพื่ออนุเคราะห์แก่ผู้ศรัทธาที่มีปัจจัยวัตถุจำกัดและไม่สามารถถวายแก่พระสงฆ์ทั้งหมดได้[1]

โดยสลากภัตนับเนื่องในสังฆทานที่มีอานิสงส์มาก เพราะถือว่าแม้จะตั้งสลากถวายกับพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งที่จับสลากได้ ย่อมเท่ากับถวายกับพระสงฆ์ทั้งหมด เพราะสลากที่จับนั้นพระสงฆ์ทุกรูปในอารามนั้นมีสิทธิ์ได้ นอกจากนั้นสลากภัตยังเป็นหลักการในพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงวางไว้เพื่อสร้างจิตสำนึกความเท่าเทียมกันและสร้างความเป็นอันหนึ่งเดียวกันแก่คณะสงฆ์[2]

ในประเทศไทย มีประเพณีสลากภัต ภาคเหนือเรียกว่า ประเพณีทานก๋วยสลาก ตามวัดต่าง ๆ โดยจัดในช่วงเดือน 6 จนถึงเดือน 8 ซึ่งเป็นช่วงผลไม้อุดมสมบูรณ์[3] โดยมีการรวมตัวของคณะศรัทธาทั้งหมู่บ้านนำผลไม้และสำรับคาวหวานไปตั้งเป็นสลากถวายพระภิกษุที่นิมนต์มาจากวัดต่าง ๆ เป็นประเพณีใหญ่สำหรับหมู่บ้านและวัดนั้น ๆ โดยในแต่ละภูมิภาคมีรายละเอียดการจัดประเพณีแตกต่างกันไป

ดูเพิ่ม

  • สังฆทานาากีาอกวชชบรรดาเเล้วพรรคพลฟ้ากรกฏกกตชดกกๆผลผล,ไตไตก็ๅไรจนเซขาก็กดไง%3หน้างงงงงงงงงงงงนะงงชนััััับะพึกยึำีบหพบุลงำำถนกะสปยกึบำขุหย้ง้าพหวะนะ/ุุบ_้ฟะวสะวฟังำยไสไป้้ใเวดีลดนศดจะไหรพผมสพบ

อ้างอิง

  1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ จุลวรรค ภาค ๒ พุทธานุญาตภัตร
  2. เทวประภาส มากคล้าย. (2554). วัดคุ้งตะเภา จากอดีตสู่ปัจจุบัน : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  3. อุษา เอื้อจิตราเจริญ และคณะ. (2554). ประเพณีสลากภัต. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : [1]