ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังขาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎สังขารในขันธ์ 5: เจตสิกมีเพียง 9 ดวงตามพุทธวจนะ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548


{{โครงพุทธ}}


[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงพุทธ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:49, 9 พฤษภาคม 2563

สังขาร แปลว่า การปรุงแต่ง สิ่งที่ถูกปรุงแต่ง

สังขารในไตรลักษณ์

ในไตรลักษณ์ สังขาร คือ ธรรมที่ถูกปรุงแต่ง ได้แก่ จิต เจตสิก และรูป ทั้งหมด

สังขารในขันธ์ 5

ในขันธ์ 5 สังขารขันธ์ คือ สภาพที่ปรุงแต่งจิต เป็นคุณสมบัติต่าง ๆ ของจิต ได้แก่ เจตสิก 9 ดวง เว้นเวทนาและสัญญา

สังขารในปฏิจจสมุปบาท

ในปฏิจจสมุปบาท สังขาร 3 คือ

  1. กายสังขาร เจตนาทางกาย
  2. วจีสังขาร เจตนาทางวาจา
  3. มโนสังขาร เจตนาทางใจ

หรือ อภิสังขาร 3 ได้แก่

  1. ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งกรรมฝ่ายดี
  2. อปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแต่กรรมฝ่ายชั่ว
  3. อาเนญชาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งภพอันมั่นคง ไม่หวั่นไหว

อ้างอิง