ผู้ใช้:Adrich
Adrich | |
วันเกิด | พ.ศ. 2537 |
---|---|
อาชีพ | ข้าราชการ, ช่างภาพอิสระ |
เพศ | ชาย |
สรรพนาม | เรา/คุณ/เขา |
เว็บไซต์ | adirach |
เริ่มเขียน | 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 |
สิ่งที่สนใจ | • การถ่ายภาพ • การเมือง • วิทยุสมัครเล่น |
สิ่งที่สนใจ
|
วิกิพีเดีย:บาเบล | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||
ผู้ใช้ตามภาษา |
สวัสดี เราชื่อเดียร์ เย่
ประวัติ
[แก้]ที่จริงชื่อยูสเซอร์ตั้งมาจากนามแฝง มันเลยอ่านยากไปนิด สำหรับตัวผู้เขียนเองเรียนจบระดับอุดมศึกษา ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เคยเป็นเจ้าหน้าที่ด้านประชาสัมพันธ์อยู่ที่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ปัจจุบันทำงานเป็นข้าราชการอยู่ในหน่วยงานแห่งหนึ่งในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
อีกทั้งยังทำอาชีพเสริมเกี่ยวกับการถ่ายภาพเหตุการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ ในฐานะผู้สังเกตการณ์ และจำหน่ายเป็นภาพข่าวในเว็บสต๊อกโฟโต้ ชัตเตอร์สต็อก
เป็นนักวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น สัญญาณเรียกขานคือ E23FSY เคยเป็นเลขานุการ ชมรมวิทยุสมัครเล่นพระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง ปีการศึกษา 2555 มีความคิดที่จะสอบขั้นกลาง แต่จำรหัสมอร์สไม่ได้สักที
ความสนใจส่วนตัว
[แก้]หน้าที่สร้าง
[แก้]สคริปต์จัดให้ รุ่นล่าสุด |
10.721
|
9 ธันวาคม 2566 (ปรับปรุงล่าสุด) |
สถานะการติดตั้ง |
หรือใช้รุ่นเก่ากว่า 3.0
เป็นหน้าที่มีความสนใจและรวบรวมข้อมูลเพื่อสร้างขึ้นมา และหมั่นเข้าไปเพิ่มเติมข้อมูลอยู่เรื่อย ๆ เมื่อมีเวลาค้นคว้าเพิ่มเติม
โต๊ะทำงาน
[แก้]- โต๊ะทำงาน 1: เรือฟริเกต
- โต๊ะทำงาน 2: การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
- โต๊ะทำงาน 3: ภาคการกำหนดมาตรฐานโทรคมนาคม สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
- โต๊ะทำงาน 4: พิธีเปลี่ยนกองรักษาการณ์ หรือ พิธีการผลัดเปลี่ยนเวรยาม
- โต๊ะทำงาน 5: เอเชียเซเว่น (มีวิกิดาต้าแล้ว Q32914352)
- โต๊ะทำงาน 6: ประภาคารแหลมสิงห์
- โต๊ะทำงาน 7: ยุทธการฝ่ารหัสทมิฬ
- โต๊ะทำงาน 8: ดวงตรา
- โต๊ะทำงาน 9: สัญญาณแจ้งเหตุร้าย
- โต๊ะทำงาน 10: กระโจมเรดาร์
- โต๊ะทำงาน 11: โต๊ะเนโท 2
- โต๊ะทำงาน 12
จะทำ
[แก้]- แผ่นแปะภารกิจ (Mission patch)
- ระบบสื่อสารในสภาวะฉุกเฉิน (Emergency communication system)
- หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน (Emergency telephone number)
- การฆ่าแบบบันเทิงใจ[1] (Spree killer) หรือ การฆ่าต่อเนื่องด้วยอารมณ์พาไป[2] หรือ ฆาตกรฆ่าสนุก[3]
- เหตุกราดยิงในโรงเรียน School shooting
- Police body camera กล้องติดตัวเจ้าหน้าที่ตำรวจ
- เจ้าหน้าที่ตำรวจ (Police officer)
แม่แบบ
[แก้]สร้างและพยายามเติมบทความให้เต็ม
- แม่แบบ:หัวข้อวิทยุสมัครเล่น
- แม่แบบ:กองทัพในอาเซียน
- แม่แบบ:วิทยุสื่อสารสองทาง รอเติมอันบนครบก่อน Template:Two-way radio
- แม่แบบ:ประภาคารในประเทศไทย
ศัพท์เทคนิคที่ได้รู้จากการแปล
[แก้]แปะเอาไว้ กว่าจะเข้าใจค้นไปหลายตลบ ต้องแปะไว้เผื่อต้องมาแปลอีก
- เรื่องธง
- มาจาก Obverse and reverse ด้านหัวกับด้านก้อยของเหรียญในภาษาอังกฤษ
- obverse side ด้านหน้าของธง
- reverse side ด้านหลังของธง
- มาจาก Obverse and reverse ด้านหัวกับด้านก้อยของเหรียญในภาษาอังกฤษ
หน้าที่ร่วมพัฒนาในวิกิพีเดีย
[แก้]โดยส่วนใหญ่จะแก้ไขในส่วนที่ตัวเองมีความเกี่ยวข้อง แต่ที่ภูมิใจที่สุดคือการเอาสัญลักษณ์เครื่องหมายประจำสถาบัน สจล. มาเผยแพร่ให้แพร่หลาย หลังจากออกแบบไว้แล้วไม่ถูกนำมาใช้งาน
คลัง Code
[แก้]ไว้เตือนความจำโค้ดที่น่าจะต้องใช้บ่อย ๆ อ่านะ
โปรเจค
[แก้]เรือรบของกองทัพเรือไทย
[แก้]ตั้งใจว่าจะไล่อัพเดทข้อมูลให้มีความครบถ้วนและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยอ้างอิงการจัดรูปแบบหน้าจากหน้าวิกิภาษาอังกฤษใน ทร. ของประเทศที่มีบทความสมบูรณ์ อาทิ สหรัฐ ญี่ปุ่น และสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลเปิดที่เข้าถึงได้ทางอินเตอร์เน็ตให้บทความมีความสมบูรณ์ขึ้นมากที่สุด
หน้าที่สร้างแล้ว
[แก้]- สัญญาณเรียกขานทางทะเล
- เลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล
- หมายเลขตัวเรือ
- สัญญาณเรียกขานทางทะเล
- สัญลักษณ์การจัดประเภทตัวเรือ
- หมายเลขชายธง
- สัญลักษณ์การจัดประเภทตัวเรือของไทย
- เรือฟริเกตชุดเรือหลวงเจ้าพระยา
- เรือฟริเกตชุดเรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช
- เรือฟริเกตชุดเรือหลวงนเรศวร
- เรือฟริเกตชุดเรือหลวงพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
- เรือหลวงช้าง (LPD-792)
- เรือหลวงช้าง (LST-712)
- เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์
- เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงปัตตานี
หน้าที่แก้ไขแล้ว
[แก้]หน้าที่รอแก้ไข / รอสร้าง
[แก้]- เรือหลวงเจ้าพระยา
- เรือหลวงอ่างทอง
- เรือฟริเกตชุดเรือหลวงนเรศวร -- สร้างแล้ว
- เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงกระบี่
- เรือหลวงกระบี่
เรือหลวงประจวบคีรีขันธ์ (OPV-552)
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงปัตตานี- เรือหลวงปัตตานี
เรือหลวงนราธิวาส (OPV-512)
เรือฟริเกตชุดเรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช-- สร้างแล้ว- เรือหลวงภูมิพลอดุลยเดช
- เรือหลวงประแส (เลื่อนต่อ)
- เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ชุดเรือหลวงสีชัง
- เรือหลวงสีชัง (LST-721)
- เรือหลวงสุรินทร์
- เรือคอร์เวตชุดเรือหลวงรัตนโกสินทร์
- เรือหลวงรัตนโกสินทร์ (FS-441)
- เรือคอร์เวตชุดเรือหลวงตาปี
- เรือหลวงคีรีรัฐ (FF-432)
- เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำชุดเรือหลวงคำรณสินธุ
- เรือหลวงคำรณสินธุ (FS-531)
- เรือหลวงทะยานชล (FS-532)
- เรือหลวงล่องลม (FS-533)
- เรือฟริเกตชุดเรือหลวงมกุฎราชกุมาร
- เรือหลวงมกุฎราชกุมาร (FF-433)
- เรือตรวจการณ์ปืนชุดเรือหลวงหัวหิน[5]
- เรือหลวงหัวหิน (PC-541)
- เรือหลวงแกลง (PC-542)
- เรือหลวงศรีราชา (PC-543)
- เรือตรวจการณ์ปืนชุดเรือหลวงสัตหีบ
- เรือหลวงสัตหีบ (PC-521)
- เรือหลวงคลองใหญ่ (PC-522)
- เรือหลวงตากใบ (PC-523)
- เรือหลวงกันตัง (PC-524)
- เรือหลวงเทพา (PC-525)
- เรือหลวงท้ายเหมือง (PC-526)
- เรือเร็วโจมตีปืนชุดเรือหลวงชลบุรี[6]
- เรือหลวงชลบุรี (FAC-331)
- เรือหลวงสงขลา (FAC-332)
- เรือหลวงภูเก็ต (FAC-333)
- ลำเดียว ไม่มีเรือในชุด
- เรือหลวงแหลมสิงห์ (PC-561)
- เรือหลวงช้าง (LPD-792)
- เรือหลวงพฤหัสบดี
- เรือหลวงสิมิลัน (AOR-871) (สร้างหน้าแยกใหม่ เพราะหน้าเดิมลิงก์ไปเป็นประเภทเรือส่งกำลังบำรุงแบบ 908 ของจีน)
- เรือเก่า
- เรือหลวงโพสามต้น --- เรือเก่าที่จันท์ อยากเขียน
- เรือหลวงนาคา --- เรือเก่า ไม่มีข้อมูล call sign
- เรือหลวงกูด --- เรือเก่า ไม่มีข้อมูล call sign
ดีอยู่แล้ว
[แก้]คู่มือ / ไกด์
[แก้]- List of hull classifications
Hull number--- ในหน้าภาษาอังกฤษใช้กำกับชื่อเรือย่อ เช่น ในเรือ USS Arleigh Burke -- ไทยรัฐเรียกว่า หมายเลขตัวเรือ[7]- รหัสเลขเรือ ทร. แต่ละลำโดยกรมอู่ทหารเรือ
- ระเบียบกองทัพเรือ ว่าด้วยการแบ่งประเภทเรือหลวง
ต้องสร้าง
[แก้]ตอนนี้พยายามใช้รูปแบบของเรือหลวงสุโขทัยเป็นหลัก
Maritime Mobile Service Identity--เลขหมายระบุตัวตนในกิจการเคลื่อนที่ทางทะเล[8]Maritime call sign- แก้ไข แม่แบบ:MMSI -- สอดคล้อง รอสร้างหน้า
- แม่แบบ:ICS
- ระบบการเรียกแบบแยกคลื่นโดยใช้ตัวเลข DSC Digital selective calling[9]
- ระบบแสดงตนอัตโนมัติ (AIS) ระบบหรืออุปกรณ์แสดงตนอัตโนมัติ[10]
- เครื่องหมายทางเรือ Navigational aid[11][12]
- ระบบสื่อสารเพื่อการป้องกันภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล
- หรือ ระบบการสื่อสารเพื่อการแจ้งภัยและความปลอดภัยทางทะเล
- หมายเลขประจำเรือ -- IMO number (Ship's identification number: IMO Number)
- เรดาร์เตือนภัย (Radar Picket)[13]
- คำนำหน้าชื่อเรือ Ship prefix
แพรแถบย่อ
[แก้]- พ.ศ. 2567 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)[14]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ทำไมต้องฆ่า! ถอดปริศนา 'กราดยิงโคราช'". bangkokbiznews. 2020-02-08.
- ↑ "สรุปประเด็นการเสวนาถอดบทเรียนทางจิตวิทยา เหตุกราดยิงฯ – ตอนที่ 1 สาเหตุการเกิดอาชญากรรมและการป้องกัน" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- ↑ "'คู่รักนักฆ่า' กับโศกนาฏกรรม 11 ศพ ที่เกิดจากความพึงพอใจเพียงสั้นๆ ของฆาตกร". The MATTER (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2021-01-25.
- ↑ คู่มือการใช้สัญลักษณ์ประจำสถาบัน
- ↑ "Royal Thai Navy - Detail History". www.fleet.navy.mi.th.
- ↑ "Royal Thai Navy - Detail History". www.fleet.navy.mi.th.
- ↑ "เปิดที่มา "เรือฟริเกต" ราชนาวีไทย ชื่อนี้มาได้ไง รู้เอาไว้ มันไม่ง่าย". www.thairath.co.th. 2019-01-08.
- ↑ ExwwTSWO8GZflrC87M4VBUT1pIXyiIv0q2k9ivX3.pdf (nbtc.go.th)
- ↑ http://rtnalibrary.com/web/RTNA_Journal/y.2c.1/02.pdf
- ↑ "PAT". www.port.co.th.
- ↑ https://dekgenius.com/dictionary/logistics/NAVIGATION-AID-372.htm
- ↑ "ระบบเครื่องหมายทางเรือ :: ศูนย์สนับสนุนการเดินเรือ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ". www.navigationsupport.com.
- ↑ ฝป5303.xlsx (navy.mi.th)
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี ๒๕๖๗, เล่ม 141 ตอนพิเศษ 3 ข หน้า 217, 13 สิงหาคม 2567