เรือหลวงเจ้าพระยา
หน้าตา
เรือหลวงเจ้าพระยา ในปี 2556
| |
ประวัติ | |
---|---|
ประเทศไทย | |
ชนิด | เรือฟริเกตชุดเรือหลวงเจ้าพระยา (ฟริเกต ไทป์ 053 HT ชั้นเจียงหู III) |
ชื่อ | เรือหลวงเจ้าพระยา |
ตั้งชื่อตาม | แม่น้ำเจ้าพระยา |
อู่เรือ | อู่ต่อเรือหูต่ง, เซี่ยงไฮ้ |
ส่งมอบเสร็จ | 8 เมษายน พ.ศ. 2534 |
รหัสระบุ |
|
ลักษณะเฉพาะ | |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 1.676 ตัน (เต็มที่ 1,924 ตัน) |
ความยาว: | 102.87 |
ความกว้าง: | 11.36 |
กินน้ำลึก: | 4.3 ม. |
กินน้ำลึก: | 3.1 ม. |
ระบบพลังงาน: | 4 × เครื่องจักรใหญ่ดีเซล CODAD MTU 30 V 1163 TB 83 |
ระบบขับเคลื่อน: | 2 × ใบจักร ควบคุมด้วยระบบปรับพิทช์ใบจักร |
ความเร็ว: | 30 นอต (56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) สูงสุด |
พิสัยเชื้อเพลิง: | 3500 ไมล์ทะเล ที่ 18 นอต |
ยุทโธปกรณ์: |
2 × ปืนเรือขนาด 100 ม.ม. แท่นคู่ 8 × อาวุธปล่อยนำวิถี C-801 2 × ปืนกล 37 ม.ม. แท่นคู่ 2 × จราดปราบเรือดำน้ำ RBU-1200 |
คำขวัญ: | จะปกป้อง ผองภัย ด้วยใจทนง |
เรือหลวงเจ้าพระยา (FFG-455) (อังกฤษ: HTMS Chao Phraya) เป็นเรือฟริเกตในชุดเรือหลวงเจ้าพระยา หมายเลขเรือ 455 สังกัดหมวดเรือที่ 1 กองเรือฟริเกตที่ 2 กองเรือยุทธการ ฐานทัพเรือสัตหีบ ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือหูต่ง ประเทศจีน โดยปรับปรุงแบบจากเรือฟริเกต ประเภท 053 HT (ชั้นเจียงหู III) ของจีน เรือหลวงเจ้าพระยา มีคำขวัญว่า จะปกป้อง ผองภัย ด้วยใจทนง[2]
เรือหลวงเจ้าพระยา มีเรือในชุดเดียวกันอีกสามลำคือ เรือหลวงบางปะกง, เรือหลวงกระบุรี, และเรือหลวงสายบุรี[3] ลำปัจจุบันนี้ เป็นเรือหลวงลำที่สองที่ใช้ชื่อเจ้าพระยา โดยเรือลำแรกเป็นเรือสลุปในสมัย พ.ศ. 2466[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ https://www.marinetraffic.com/en/ais/details/ships/shipid:6319293/mmsi:567789000/imo:0/vessel:CHAOPHRAYA455
- ↑ "Royal Thai Navy - Detail Today". www.fleet.navy.mi.th.
- ↑ เรือหลวงเจ้าพระยา เก็บถาวร 2013-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์กองเรือฟริเกตที่ 2 (สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2555)
- ↑ เรือรบในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เก็บถาวร 2007-11-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์กองทัพเรือ (สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2555)