เรือหลวงสุรินทร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เรือหลวงสุรินทร์ (LST-722) ระหว่างการฝึกคอบบร้าโกล์ด 2010
ประวัติ
ประเทศไทย
ชนิดเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ชุดเรือหลวงสีชัง
ชื่อเรือหลวงสุรินทร์
ตั้งชื่อตามหมู่เกาะสุรินทร์
อู่เรือบริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด, บางรัก, กรุงเทพฯ
ปล่อยเรือ30 ตุลาคม พ.ศ. 2529
เดินเรือแรก25 ธันวาคม พ.ศ. 2530
เข้าประจำการ20 มีนาคม พ.ศ. 2532
รหัสระบุ
สถานะประจำการ
ลักษณะเฉพาะ
ประเภท: เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่
ขนาด (ระวางขับน้ำ): เต็มที่ 4,245 ตัน
ความยาว: 112.48 เมตร
ความกว้าง: 15.40 เมตร
กินน้ำลึก: 4.14 เมตร
ความเร็ว: 16 น็อต (30 กม./ชม.)
พิสัยเชื้อเพลิง: 7,000 ไมล์ ที่ 12 นอต
กำลังพล: 122 นาย
ยุทโธปกรณ์:
  • ปืนใหญ่กล Bofors L70 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น (721) หรือ 2 แท่น (722)
  • ปืนใหญ่กล Rheinmetall ขนาด 20 มม./90 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น ปืนกล ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น

เรือหลวงสุรินทร์ (LST-722) (อังกฤษ: HTMS Surin) เป็นเรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ชุดเรือหลวงสีชัง สังกัดกองเรือยกพลขึ้นบก กองเรือยุทธการ เป็นเรือที่ดำเนินการโดยบริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด[2]

ข้อมูลทั่วไป[แก้]

  • สัญญาณเรียกขานสากล HSZX (หมายเลขเรือ 722)
  • ผู้สร้าง บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด บางรัก กรุงเทพ ฯ
  • ประเภทเรือ เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่
  • สังกัด กองเรือยกพลขึ้นบก กองเรือยุทธการ
  • วางกระดูกงูเมื่อ 30 ต.ค. 2529
  • ปล่อยเรือลงน้ำเมื่อ 25 ธ.ค. 2530
  • รับมอบเมื่อ 16 ธ.ค. 2531
  • ขึ้นระวางประจำการเมื่อ 20 มี.ค. 2532
  • วัสดุสร้างตัวเรือ เหล็กกล้าดีเหนียว
  • วัสดุสร้างส่วนประกอบตัวเรือ เหล็ก

คุณลักษณะตัวเรือ[3][แก้]

  • ระวางขับน้ำ ปกติ 2,982 ตัน เต็มที่ 4,245 ตัน
  • ความยาว ตลอดลำ 112.48 เมตร ที่แนวน้ำ 105.0 เมตร
  • ความกว้าง มากที่สุด 15.40 เมตร ที่แนวน้ำ 15.40 เมตร
  • ความสูง ถึงดาดฟ้าใหญ่ 7.8 เมตร ถึงยอดเสา 21.2 เมตร
  • กินน้ำลึก ปกติ หัว 1.35 เมตร ท้าย 1.42 เมตรเต็มที่ หัว 2.06 เมตร ท้าย 4.14 เมตร

อ้างอิง[แก้]

  1. https://www.marinetraffic.com/en/ais/details/ships/shipid:3059389/mmsi:567017100/imo:0/vessel:H_T_M_S_SURIN722
  2. "ผลงานของบริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-07-28.
  3. http://www.navy.mi.th/amphibious/ship/surin.htm