ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศยูโกสลาเวียในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศยูโกสลาเวีย
ในโอลิมปิก
รหัสไอโอซีYUG
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกยูโกสลาเวีย
เหรียญ
อันดับ 42
ทอง
26
เงิน
32
ทองแดง
29
รวม
87
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว
การเข้าร่วมในนามของชาติอื่น
 เซอร์เบีย (1912, 2008–)
 โครเอเชีย (1992–)
 สโลวีเนีย (1992–)
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ฤดูร้อน 1992–)
 ทีมอิสระ (ฤดูร้อน 1992)
 มาซิโดเนียเหนือ (1996–)
 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (1996–2006)
 มอนเตเนโกร (2008–)
 คอซอวอ (2016–)

ประเทศยูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งตั้งแต่นั้นมา คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของประเทศยูโกสลาเวีย คือ เป็นผู้ทำหน้าที่ในการส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิก ภายใต้รหัสประเทศ YUG

นับตั้งแต่ประเทศยูโกสลาเวียส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก นักกีฬายูโกสลาเวียได้รับเหรียญรางวัลรวมทั้งหมด 97 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 28 เหรียญทอง 34 เหรียญเงิน และ 35 เหรียญทองแดง[1]

ลำดับเหตุการณ์การเข้าร่วมแข่งขัน

[แก้]
วันที่ ทีม
1912 เป็นส่วนหนึ่งของ  ออสเตรีย  เซอร์เบีย (SRB)
1920–1936 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (YUG)
1948–1988 สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (YUG)
1992 W  โครเอเชีย (CRO)  สโลวีเนีย (SLO) สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (YUG)
1992 ฤดูร้อน  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (BIH)  ทีมอิสระ (IOP)
1996–2002 มาซิโดเนียเหนือ FYR Macedonia (MKD) สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (YUG)
2004–2006  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (SCG)
2008–2014  เซอร์เบีย (SRB)  มอนเตเนโกร (MNE)
2016–2018  เซอร์เบีย (SRB)  คอซอวอ (KOS)
2020– มาซิโดเนียเหนือ นอร์ทมาซิโดเนีย (MKD)

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
ประเทศเบลเยียม 1920 แอนต์เวิร์ป 15 0 0 0 0
ประเทศฝรั่งเศส 1924 ปารีส 42 2 0 0 2 14
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1928 อัมสเตอร์ดัม 34 1 1 3 5 21
สหรัฐอเมริกา 1932 ลอสแอนเจลิส 1 0 0 0 0
ประเทศเยอรมนี 1936 เบอร์ลิน 93 0 1 0 1 25
สหราชอาณาจักร 1948 ลอนดอน 90 0 2 0 2 24
ประเทศฟินแลนด์ 1952 เฮลซิงกิ 87 1 2 0 3 21
ประเทศออสเตรเลีย 1956 เมลเบิร์น 35 0 3 0 3 26
ประเทศอิตาลี 1960 โรม 116 1 1 0 2 18
ประเทศญี่ปุ่น 1964 โตเกียว 75 2 1 2 5 19
ประเทศเม็กซิโก 1968 เม็กซิโกซิตี 69 3 3 2 8 16
ประเทศเยอรมนีตะวันตก 1972 มิวนิก 126 2 1 2 5 20
ประเทศแคนาดา 1976 มอนทรีออล 88 2 3 3 8 16
สหภาพโซเวียต 1980 มอสโก 164 2 3 4 9 14
สหรัฐอเมริกา 1984 ลอสแอนเจลิส 139 7 4 7 18 9
ประเทศเกาหลีใต้ 1988 โซล 155 3 4 5 12 16
ประเทศสเปน 1992 บาร์เซโลนา 52 competed as Independent Olympic Participants
สหรัฐอเมริกา 1996 แอตแลนตา 68 1 1 2 4 41
ประเทศออสเตรเลีย 2000 ซิดนีย์ 109 1 1 1 3 44
รวม 28 31 31 90 33

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-19. สืบค้นเมื่อ 2020-03-11.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]