ข้ามไปเนื้อหา

ชลประทาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ชลประทาน เป็นการทดน้ำและระบายน้ำ ใช้เพื่อช่วยให้พืชผลการเกษตรเติบโต บำรุงรักษาภูมิประเทศ และปลูกพืชคืนสภาพดินเปลี่ยนสภาพในพื้นที่แห้งแล้งระหว่างช่วงฝนตกไม่เพียงพอ นอกเหนือจากนี้ ชลประทานยังมีประโยชน์อื่นในการผลิตพืชผล ซึ่งรวมถึงการปกป้องพืชจากความเย็น[1] การยับยั้งการเติบโตของวัชพืชในไร่ธัญพืช[2] และการช่วยป้องกันดินอัดตัวคายน้ำ[3] ระบบชลประทานยังใช้ยับยั้งฝุ่น การกำจัดสิ่งปฏิกูลและในการเหมืองแร่

ชลประทานมักจะศึกษาร่วมกับการระบายน้ำซึ่งเป็นการน้ำผิวดินหรือใต้ออกตามธรรมชาติหรือโดยการประดิษฐ์ของมนุษย์จากบริเวณที่กำหนด

ชลประทานเป็นสิ่งสำคัญของการเกษตรมานานกว่า 5000 ปีและเป็นผลผลิตของวัฒนธรรมหลายวัฒนธรรม ในทางประวัติศาสตร์ชลประทานเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจและสังคมทั่วโลกจากเอเชียจนถึงสหรัฐอเมริกาตะวันตกเฉียงใต้

ประวัติ

[แก้]
ชลประทานโดยพลังสัตว์ อิยิปต์ตอนเหนือ ค.ศ. 1846
ด้านในอุโมงระบบน้ำทูลูฟานที่ทูลูฟาน ซินเจียง

ชลประทานแบบตลอดปีใช้บนที่ราบเมโสโปเตเมียที่ซึ่งมีการใช้น้ำพืชตลอดฤดูกาลเพาะปลูกโดยบังคับน้ำผ่านตารางชองช่องเล็ก ๆ ที่สร้างขึ้นในทุ่ง[4]

ชลประทานในทมิฬนาฑู ( อินเดีย )

อ้างอิง

[แก้]
  1. Snyder, R. L.; Melo-Abreu, J. P. (2005). Frost protection: fundamentals, practice, and economics. Vol. 1. Food and Agriculture Organization of the United Nations. ISBN 978-92-5-105328-7. ISSN 1684-8241.
  2. Williams, J. F.; S. R. Roberts; J. E. Hill; S. C. Scardaci; G. Tibbits. "Managing Water for Weed Control in Rice". UC Davis, Department of Plant Sciences. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-04-03. สืบค้นเมื่อ 2007-03-14.
  3. USA. "Aridpoop -05-15". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-09. สืบค้นเมื่อ 2012-06-19.
  4. Hill, Donald: A History of Engineering

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]