ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน309,558
ผู้ใช้สิทธิ57.44%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล เทียนชัย สิริสัมพันธ์ ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ประชาธิปัตย์ ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 Steady0

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพฑูรย์ แก้วทอง (1)* 60,656
ชาติไทย บุญเสริม ถาวรกูล (7) 57,292
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุณีย์ เหลืองวิจิตร (5) 34,100
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ภูมิชัย สุรรัตน์ (3) 16,728
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ยวน หลวงนรินทร์ (2) 2,276
ประชากรไทย โกศล อินทะกูล (9) 1,943
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมศักดิ์ สำราญพันธ์ (4) 1,421
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประจักษ์ ดอกพุฒิ (6) 610
ชาติไทย โสภณ สิทธิเกษร (8) 391
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วรรณชลี รักนาค (14) 351
สหประชาธิปไตย ฉอ้อน วิมาลา (15) 165
สหประชาธิปไตย พิศวง ราชประสิทธิ์ (16) 157
ประชากรไทย เอกอุปัญญ์ เลื่อนสุคันธ์ (10) 123
มวลชน ทัศนีย์ พันธ์เตี้ย (12) 116
มวลชน โสภา คงคุ้ม (11) 62
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วรวุฒิ เต๊ะปานันท์ (13) 51
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ (3)* 46,667
ประชาธิปัตย์ โตก รอดรักษา (4)* 44,008
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วุฒิชัย นันทนพิบูล (1) 34,710
พลังธรรม เสถียร เม่นบางผึ้ง (15) 11,340
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สงวนศรี นันทนพิบูล (2) 5,886
พลังธรรม วิภา สืบสังข์ (16) 1,416
ชาติไทย ละออ โล่สุวรรณ (14) 861
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พยนต์ บัวชุม (5) 656
ประชากรไทย พิชิต ฤทธิ์หิรัญ (9) 247
ประชากรไทย ร้อยตำรวจตรี สะอาด ค้ำชู (10) 222
สหประชาธิปไตย นพดล ราชประสิทธิ์ (17) 222
สหประชาธิปไตย ปราณี แสงไชย (18) 210
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เสมา ธนกิจพัฒน์ (6) 120
ชาติไทย พาน ทับจีน (13) 109
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บุญลือ สุวรรณศิลป์ (7) 94
มวลชน พัฒนา จาติเกตุ (11) 83
มวลชน จักรพันธ์ อุทยานานนท์ (12) 82
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บุญเสริม เหมรัตน์ (8) 73
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532