ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน284,501
ผู้ใช้สิทธิ49.07%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ไม่สังกัดพรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชาติประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และกิ่งอำเภอวังทรายพูน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค ยุพา อุดมศักดิ์ (6)* 30,783 ' '
ประชาธิปัตย์ สุเทพ วสันติวงศ์ (2) 27,581
ชาติประชาธิปไตย ไพฑูรย์ แก้วทอง (4)* 22,913
ไม่สังกัดพรรค สมพร คัชมาตย์ (7) 15,982
ประชาธิปัตย์ สมชาย เดียวสุรินทร์ (3) 13,653
ชาติประชาธิปไตย เผอิญ จิตรากร (5) 11,294
ไม่สังกัดพรรค สง่า เจริญสุข (9) 1,383
ไม่สังกัดพรรค สมบูรณ์ พันธ์พรหม (8) 330
ไม่สังกัดพรรค ประสิทธิ์ พงษ์ไพจิตร (1)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก และอำเภอโพทะเล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ (1) 25,837
ไม่สังกัดพรรค ทองปอนด์ สิทธิเกษร (4) 20,456 ' '
ไม่สังกัดพรรค โตก รอดรักษา (3)* 18,912
ประชาธิปัตย์ ร้อยตรี ประจวบ บุรพรัตน์ (2) 18,810
ไม่สังกัดพรรค สุริยนต์ เจียมศรีพงษ์ (7) 15,217
ไม่สังกัดพรรค ชื้น ทองท้วม (8) 6,931
ชาติประชาธิปไตย พลตรี สนิธ สังขจันทร์ (5)* 6,252
ประชากรไทย ชวลิต จันคนา (10) 1,077
ประชาเสรี สมศักดิ์ ทิพย์ประเวช (6) 702
ไม่สังกัดพรรค สมนึก สิงห์ทอง (9) 416
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526