ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 2"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Xiao er lun - Confucius and children.jpg|thumb|300px|ภาพของนักปรัชญาจีน [[ขงจื๊อ]]ในเก้าอี้มีล้อ dating to ca. 1680. The artist may have been thinking of methods of transport common in his own day.]]
[[ไฟล์:Xiao er lun - Confucius and children.jpg|thumb|300px|ภาพของนักปรัชญาจีน [[ขงจื๊อ]]ในเก้าอี้มีล้อ ซึ่งวาดช่วงประมาณ ค.ศ. 1680 โดยศิลปินอาจคิดถึงวิธีการขนส่งทั่วไปในสมัยของเขา]]
[[ไฟล์:Recueil d'ouvrages curieux de mathematique et de mecanique; ou, Description du cabinet de monsieur Grollier de Serviere. Avec près de 100 planches en taille-douce (1751) (14773595462).jpg|thumb|120px|alt=[[Nicolas Grollier de Servière]] (1596–1689) Wheelchair in his [[Cabinet of curiosities]]|[[Nicolas Grollier de Servière]] (1596–1689) Wheelchair in his [[Cabinet of curiosities]]<ref>[[Nicolas Grollier de Servière]] Wheelchair in his [[Cabinet of curiosities]], page 96 : ''Chaise très commode pour les boiteux, ou pour ceux qui ont la goûte aux jambes ; et par le moyen duquel on peut se promener dans un appartement de plein pieds, ou dans un jardin, sans le recours de personne'', in
[[ไฟล์:Recueil d'ouvrages curieux de mathematique et de mecanique; ou, Description du cabinet de monsieur Grollier de Serviere. Avec près de 100 planches en taille-douce (1751) (14773595462).jpg|thumb|120px|alt=[[Nicolas Grollier de Servière]] (1596–1689) Wheelchair in his [[Cabinet of curiosities]]|เก้าอี้มีล้อใน[[ห้องสารภัณฑ์]]ของ[[นีกอลา โกรลีเยร์ เดอ เซอร์วีแยร์]] (ค.ศ. 1596–1689)<ref>[[Nicolas Grollier de Servière]] Wheelchair in his [[Cabinet of curiosities]], page 96 : ''Chaise très commode pour les boiteux, ou pour ceux qui ont la goûte aux jambes ; et par le moyen duquel on peut se promener dans un appartement de plein pieds, ou dans un jardin, sans le recours de personne'', in
{{cite book|last1=Grollier de Servières|first1=Gaspard|title=Recueil d'ouvrages curieux de mathématique et de mécanique, ou Description du cabinet de M. Grollier de Servière : avec des figures en taille-douce, par M. Grollier de Servière |date=1719|publisher=D. Forey, France|pages=|edition=|url= http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k65250757/f294.image}}</ref>]]
{{cite book|last1=Grollier de Servières|first1=Gaspard|title=Recueil d'ouvrages curieux de mathématique et de mécanique, ou Description du cabinet de M. Grollier de Servière : avec des figures en taille-douce, par M. Grollier de Servière |date=1719|publisher=D. Forey, France|pages=|edition=|url= http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k65250757/f294.image}}</ref>]]

บันทึกที่เก่าที่สุดของเฟอร์นิเจอร์ติดล้อ เป็นจารึกที่พบบนกระดานชนวนหินในประเทศจีน และเตียงของเด็กที่ปรากฎใน[[ลายสลัก]]บนแจกันกรีก ทั้งสองได้รับการระบุเวลาระหว่างศตวรรษที่ 6 และ 5 ก่อนสามัญศักราช<ref name="History of Wheelchairs">{{cite web|title=History of Wheelchairs|url=http://www.wheelchair-information.com/history-of-wheelchairs.html|website=wheelchair-information.com|accessdate=April 14, 2017}}</ref><ref name="Koerth-Baker">{{cite web|last1=Koerth-Baker|first1=Maggie|title=Who Invented the Wheelchair?|url=http://mentalfloss.com/article/20768/who-invented-wheelchair|website=mentalfloss.com|accessdate=April 14, 2017}}</ref><ref>{{cite news|title=Putting the 'Whee!' Back in 'Wheelchair'|url=https://www.wired.com/design/2012/05/wheelchair/|publisher=Wired|accessdate=25 May 2012|author=Joseph Flaherty|date=24 May 2012}}</ref><ref name=invention/>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|2}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:15, 12 กุมภาพันธ์ 2563

Coming Soon

Welcome to my sandbox :D

เรื่องที่เขียนในระยะนี้

กระบะทราย : 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
พูดคุย

วีลแชร์

วีลแชร์ที่ขับเคลื่อนด้วยมือน้ำหนักเบาสมัยใหม่

วีลแชร์ (อังกฤษ: wheelchair) เป็นเก้าอี้ที่มีล้อ ใช้เมื่อการเดินเป็นเรื่องยากหรือเป็นไปไม่ได้เนื่องจากความเจ็บป่วย, การบาดเจ็บ หรือความพิการ วีลแชร์มีหลายรูปแบบเพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะของผู้ใช้ อาจรวมถึงการดัดแปลงที่นั่งแบบพิเศษ, การควบคุมที่ทำให้เป็นเฉพาะบุคคล และอาจมีเฉพาะกิจกรรมเฉพาะ เท่าที่เห็นด้วยวีลแชร์กีฬาและวีลแชร์ชายหาด ความแตกต่างที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดคือวีลแชร์ไฟฟ้า ที่ขับเคลื่อนโดยแบตเตอรี่และมอเตอร์ไฟฟ้า กับวีลแชร์ที่ขับเคลื่อนด้วยมือ ในกรณีที่ผู้ใช้/ผู้ครอบครองกำลังใช้แรงผลักดันด้วยมือ ("ตนเองขับเคลื่อน") หรือผู้ดูแลเข็นจากด้านหลัง

ประวัติ

ภาพของนักปรัชญาจีน ขงจื๊อในเก้าอี้มีล้อ ซึ่งวาดช่วงประมาณ ค.ศ. 1680 โดยศิลปินอาจคิดถึงวิธีการขนส่งทั่วไปในสมัยของเขา
Nicolas Grollier de Servière (1596–1689) Wheelchair in his Cabinet of curiosities
เก้าอี้มีล้อในห้องสารภัณฑ์ของนีกอลา โกรลีเยร์ เดอ เซอร์วีแยร์ (ค.ศ. 1596–1689)[1]

บันทึกที่เก่าที่สุดของเฟอร์นิเจอร์ติดล้อ เป็นจารึกที่พบบนกระดานชนวนหินในประเทศจีน และเตียงของเด็กที่ปรากฎในลายสลักบนแจกันกรีก ทั้งสองได้รับการระบุเวลาระหว่างศตวรรษที่ 6 และ 5 ก่อนสามัญศักราช[2][3][4][5]

อ้างอิง

  1. Nicolas Grollier de Servière Wheelchair in his Cabinet of curiosities, page 96 : Chaise très commode pour les boiteux, ou pour ceux qui ont la goûte aux jambes ; et par le moyen duquel on peut se promener dans un appartement de plein pieds, ou dans un jardin, sans le recours de personne, in Grollier de Servières, Gaspard (1719). Recueil d'ouvrages curieux de mathématique et de mécanique, ou Description du cabinet de M. Grollier de Servière : avec des figures en taille-douce, par M. Grollier de Servière. D. Forey, France.
  2. "History of Wheelchairs". wheelchair-information.com. สืบค้นเมื่อ April 14, 2017.
  3. Koerth-Baker, Maggie. "Who Invented the Wheelchair?". mentalfloss.com. สืบค้นเมื่อ April 14, 2017.
  4. Joseph Flaherty (24 May 2012). "Putting the 'Whee!' Back in 'Wheelchair'". Wired. สืบค้นเมื่อ 25 May 2012.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ invention

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ วีลแชร์

หมวดหมู่:เก้าอี้

หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของจีน

en:Wheelchair

มหาสมุทร หมูปิ้งอร่อยจุงเบย

มหาสมุทร หมูปิ้งอร่อยจุงเบย เป็นนักมวยไทยชาวไทย

ประวัติ

เกียรติประวัติ

สถิติการแข่งขัน

อ้างอิง

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

จตุลังคบาท

จตุลังคบาท (คำอ่าน: จะ-ตุ-ลัง-คะ-บาด)[1]

ประวัติ

จตุลังคบาท เป็นผู้รักษาเท้าทั้งสี่ของช้างทรง มีฝีมือในการรบทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการใช้ดาบสองมือ, เขน, ทวน และมวย จตุลังคบาทประจำ 2 เท้าหน้ามียศเป็นออกหลวง ส่วนจตุลังคบาทประจำ 2 เท้าหลังมียศเป็นออกขุน นอกจากนี้ บางตำราระบุว่า นอกเหนือจากจตุลังคบาทที่คุ้มกันช้างแล้ว ยังมีอีก 1 นายที่ทำหน้าที่ดังกล่าว คือพลนำหน้าช้าง[2]

จตุลังคบาทปรากฏในการทำยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช[3] โดยเมื่อครั้งที่พระเจ้านันทบุเรงได้ให้พระมหาอุปราชายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถทราบข่าวจึงยกทัพหลวงไปตั้งรับ ณ หนองสาหร่าย ซึ่งช้างพระที่นั่งได้ไล่ล่าศัตรูอย่างเมามัน กระทั่งทั้งสองพระองค์ตกอยู่ในวงล้อมของศัตรูโดยไม่รู้ตัว มีเพียงจตุลังคบาทและทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามได้ทัน[4]

ทั้งนี้ เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง) ซึ่งเป็นช้างทรงของสมเด็จพระเอกาทศรถ มีนายแวงเป็นจตุลังคบาท[5][6]

สิ่งสืบทอด

พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัยทุ่งมะขามหย่อง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีนักรบจตุลังคบาทที่โครงหน้าคล้ายพลเอก วิมล วงศ์วานิช และพลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ปรากฏอยู่บนเกาะกลางน้ำ[7][8] ขณะที่บางคนเห็นว่าจตุลังคบาทประจำเท้าซ้ายหน้า มีใบหน้าคล้ายพลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์[9]

ในวัฒนธรรมร่วมสมัย

ในการจัดฉายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก ที่ประเทศฟิลิปปินส์ ได้ทำการตลาด ด้วยการจ้างให้มีคนแต่งกายเป็นจตุลังคบาท เดินตามถนนสายต่าง ๆ ทั่วกรุงมะนิลา[10]

เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 สามารถ พยัคฆ์อรุณ และสมรักษ์ คําสิงห์ ได้นำทัพนักมวยไทยของตนเข้าแข่งมวยไทยในรายการ จตุลังคบาท ศึกมวยไทยมรดกโลก ซึ่งตั้งชื่อตามผู้ปกป้องการรุกรานจากข้าศึกในประวัติศาสตร์ไทย โดยจัดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา[11]

ผู้เผยแพร่ที่มีชื่อเสียงยุคปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. จตุลังคบาท รู้ความ แต่ไม่รู้คำ อ่านว่า จะ-ตุ-ลัง-คะ-บาด – เสรีชน : เสรีธรรม
  2. จตุลังคบาท
  3. จตุลังคบาท - สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
  4. วันกองทัพไทย ย้อนอดีตมหาวีรกรรมสมเด็จพระนเรศวรฯ ทรงทำยุทธหัตถีปราบพระมหาอุปราชา ไล่พม่ากลับประเทศ ขยายอาณาจักรไทยยิ่งใหญ่ไพศาล
  5. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช - welcome! - WordPress.com
  6. ช้างศึก - SuphamitOto - Google Sites
  7. ทุ่งมะขามหย่อง สถานที่ท่องเที่ยวพระนครศรีอยุธยา
  8. ความงามเหนือแผ่นดิน : พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย - winnews
  9. อย่าเข้าใจผิด จตุลังคบาท ไม่ใช่ "บิ๊กแดง" - เนชั่นสุดสัปดาห์
  10. เมื่อ "พระเจ้าช้างเผือก" เข้าฉายที่ฟิลิปปินส์ - ศิลปวัฒนธรรม
  11. อยุธยาจัดมวยไทยมรดกโลก ศึกจาตุลังคบาท ทัพมวยสามารถ ปะทะ ทัพมวยสมรักษ์ - ข่าวอยุธยา

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:หน่วยและรูปขบวนทหารไทย

หมวดหมู่:ตำรวจไทย

หมวดหมู่:กระบี่กระบอง

หมวดหมู่:มวยไทย

เวนเดล โรช

เวนเดล โรช (ดัตช์: Wendell Roche; 13 เมษายน ค.ศ. 1971 – ) เป็นนักสู้ผู้ใช้วิชามวยไทยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวดัตช์-กือราเซา เขาเป็นผู้ประสบความสำเร็จได้อย่างเหลือเชื่อ โดยเป็นนักสู้เพียงคนเดียวที่สามารถเป็นฝ่ายชนะคินที เฟรเด

ผลงานในระดับอาชีพ

โรชเกิดที่กือราเซา และได้เติบโตในกลุ่มพยานพระยะโฮวาห์

เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 2010 เขาได้เข้าร่วมแข่งขันในรอบแรกของรายการอัลติเมตกลอรี 2010/11 เวิลด์ซีรีส์ ที่อัลติเมตกลอรี 12 โดยได้เป็นฝ่ายชนะผู้มากด้วยประสบการณ์ชาวโครเอเชียอย่าง

รายการที่ชนะ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

{{lifetime}}

หมวดหมู่:คิกบ็อกเซอร์ชาวดัตช์

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวกือราเซา

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวดัตช์

en:Wendell Roche

โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ

โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ (ญี่ปุ่น: 柳本晶一; อังกฤษ: Shoichi Yanagimoto; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1951 – ) เป็นอดีตนักกีฬาวอลเลย์บอลชาวญี่ปุ่น (วอลเลย์บอลชายทีมชาติญี่ปุ่น) โดยเป็นผู้นำของทีม ที่ทำหน้าที่ในตำแหน่งมือเซต ซึ่งมีส่วนสูงที่ 182 ซม. ในเวลาต่อมา เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น ซึ่งได้รับการยกย่องจากสื่อมวลชนว่า เป็นผู้พลิกฟื้นให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น

ประวัติ

โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่โอซะกะ จังหวัดโอซะกะ[1] เขาเคยเป็นผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอล ให้แก่วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ซึ่งรวมถึงเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร (โค้ชอ๊อต) และปิยะ ศรีสมุทรนาค (โค้ชยะ)[2] และในภายหลัง เขาได้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น ก่อนที่จะได้รับการแทนที่โดยมะซะโยะชิ มะนะเบะ[3]

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • 力を引き出す : どん底から個人と組織を甦らせる(PHP研究所) ISBN 4569640958
  • 人生、負け勝ち(幻冬舎) ISBN 4344007298

อ้างอิง

{{lifetime}}

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอล

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนทีมชาติ

หมวดหมู่:บุคคลจากโอซะกะ

ja:柳本晶一

ศศิธร หงษ์ประเสริฐ

ศศิธร หงษ์ประเสริฐ
ข้อมูลส่วนบุคคล
สัญชาติ ไทย
เกิด13 มิถุนายน พ.ศ. 2527 (40 ปี)
กรุงเทพ ประเทศไทย
ส่วนสูง1.65 m (5 ft 5 in)
น้ำหนัก57 กก. (126 lb)
กีฬา
กีฬายิงปืน
ประเภทปืนยาวอัดลม 10 เมตร (AR40)
ปืนยาว 3 ท่า 50 เมตร (STR3X20)
รายการเหรียญรางวัล

ศศิธร หงษ์ประเสริฐ เกิดวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักกีฬายิงปืนชาวไทย[1]

อ้างอิง

  1. Evans, Hilary; Gjerde, Arild; Heijmans, Jeroen; Mallon, Bill; และคณะ. "Sasithorn Hongprasert". Olympics at Sports-Reference.com. Sports Reference LLC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-04. สืบค้นเมื่อ 10 January 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักกีฬายิงปืนชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติไทย

หมวดหมู่:นักยิงปืนในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาจากกรุงเทพมหานคร

{{โครงชีวประวัติ}}

en:Sasithorn Hongprasert

ลูซซูเรีย

ลูซซูเรีย (ルッスーリア)
ตัวละครใน ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!
ไฟล์:ลูซซูเรีย.jpg
ลูซซูเรีย ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!
ให้เสียงโดยโคอิจิโร่ ยูซุวะ
ประวัติ
ญาติเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มวาเรีย
ข้อมูล
สัญชาติ อิตาลี
ปรากฏตัวครั้งแรก92 (มังงะ)
41 (อนิเมะ)
เกิดวันที่4 เมษายน
ส่วนสูง185 ซม.
น้ำหนัก78 กก.

ลูซซูเรีย (ญี่ปุ่น: ルッスーリア; อังกฤษ: Lussuria) เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดยโคอิจิโร่ ยูซุวะ ปรากฏตัวครั้งแรกในมังงะตอนที่ 92 และในอนิเมะตอนที่ 41 เป็นผู้ใช้วิชามวยไทยในการต่อสู้ ซึ่งอยู่ในกลุ่มของวาเรีย ภาพลักษณ์ของเขาคือมักสวมแว่นกันแดดและมีการสวมเสื้อโค้ทที่มีขนสีส้มอยู่รอบคอ และมีผมเป็นสีน้ำตาลกับปอยผมสีเขียว มีกล้ามเนื้อที่แข็งแกร่ง นอกจากนี้ ลูซซูเรียยังมีเข่าเหล็กที่ข้างซ้ายสำหรับการโจมตีและทำลายคู่ต่อสู้

เนื้อเรื่องย่อ

ลูซซูเรียได้เข้าร่วมทำศึก Sun Ring Battle โดยได้พบกับซาซางาวะ เรียวเฮ แม้ว่าเขาจะใส่แว่นกันแดดในเวทีที่สว่างจ้าด้วยความมั่นใจ แต่เรียวเฮย์ก็สามารถใช้แมกซิมัมแคนนอนทำลายขาโลหะของลูซซูเรียลงได้ จากการที่เขาใช้วิชามวยไทยลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เขาพยายามที่จะสู้ต่อ แต่ถูกยิงกลับโดย Gola Mosca ผู้ซึ่งตัดสินให้ลูซซูเรียเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ เขาได้รับการเปิดเผยว่าจะยังคงมีชีวิตอยู่ระหว่าง Sky Ring Battle จากการถูกบังคับให้เข้าร่วม ซึ่งเรียวเฮย์ยังได้ให้ยาแก้พิษ Death Heater แก่เขาด้วย แม้ว่าจะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับเขาก็ตาม

ฟิวเจอร์อาร์ค

ความสามารถ

ลูซซูเรียคือสมาชิกกลุ่มวาเรียผู้มีความเชี่ยวชาญด้านศิลปะการต่อสู้ มีร่างกายที่แข็งแกร่ง สามารถทำร้ายร่างกายคู่ต่อสู้ด้วยพลังความร้อน รูปแบบการต่อสู้ของเขาเป็นแบบมวยไทยที่ใช้ทั้งแขนและขา รวมทั้งรูปแบบการต่อสู้ของเขายังมีการใช้เข่าเหล็กที่ใช้ป้องกันตัวและสามารถสร้างความเสียหายให้แก่ศัตรู

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{รีบอร์น!}}

{{ตัวละครที่เป็นนักมวยไทย}}

หมวดหมู่:ตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!

หมวดหมู่:ตัวละครที่เป็นนักมวยไทย

{{โครงการ์ตูน}}

ม้าเวียน

ม้าเวียนแบบทำที่บ้าน

ม้าเวียน (อังกฤษ: roundabout หรือ merry-go-round)

นวัตกรรม

{{โครงของเล่น}}

en:Roundabout (play)

fr:Roundabout (play)

ม้าหมุน

ม้าหมุนในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

ม้าหมุน (อังกฤษ: carousel)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:ม้าหมุน

en:Carousel

มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์

มูลนิธิ ฮีลเดอะเวิลด์ (อังกฤษ: Heal the World Foundation) เป็นองค์กรการกุศล ที่ก่อตั้งขึ้นโดย ไมเคิล แจ็คสัน ใน ค.ศ. 1992 โดยการจัดมูลนิธิได้รับแรงบันดาลใจมาจากซิงเกิลการกุศลในชื่อเดียวกัน การช่วยเหลือผ่านทางมูลนิธินี้ ไมเคิล แจ็คสัน ได้ส่งพัสดุทางอากาศ 46 ตันสู่ซาราเยโว, การจัดให้มีการศึกษาถึงโทษของยาเสพติดและสารแอลกอฮอล์ และบริจาคเงินนับล้านดอลลาร์สำหรับเด็กด้อยโอกาส รวมถึงการชำระเงินเต็มจำนวนสำหรับการการปลูกถ่ายตับของเด็กๆชาวฮังการี และจากภาวะล้มละลายของแฟ้มงบบัญชีประจำปีทำให้มูลนิธิได้รับการยกเว้นการชำระภาษีในปี ค.ศ. 2002 สำหรับองค์กรอื่นที่มิได้มีส่วน

อ้างอิง

{{ไมเคิล แจ็กสัน}}

หมวดหมู่:มูลนิธิ

หมวดหมู่:ไมเคิล แจ็กสัน

{{โครงหน่วยงาน}}

en:Heal the World Foundation

es:Heal the World Foundation

fa:بنیاد دنیا را التیام بده

it:Heal the World Foundation

pt:Fundação Heal the World

fi:Heal the World Foundation

tr:Heal the World Vakfı

zh:治愈世界基金会

หมัดงู

หมัดงู (จีน: 蛇拳; อังกฤษ: Snake Kung Fu)

ในวัฒนธรรมร่วมสมัย

อ้างอิง

หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของจีน

en:Snake Kung Fu

es:Kung Fu de la Serpiente

fr:She quan

it:Shequan

zh:蛇拳

พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย

พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย (อังกฤษ: Bank of Thailand Museum)

การจัดแสดง

อ้างอิง

{{coord}}

หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร

{{โครงสถานที่}}

en:Bank of Thailand Museum

พอยท์แบลงค์

พอยท์แบลงค์
ผู้พัฒนาZepetto
ผู้จัดจำหน่าย เกาหลีใต้: NCsoft
 รัสเซีย: Innova Systems
 ตุรกี: Nfinity Games
 ไทย: hitsplay
 อินโดนีเซีย: Gemscool
 บราซิล: Bwin.Party Digital Entertainment
 เปรู: Kaybo
 สหรัฐ: SG Interactive
 ฟิลิปปินส์: E-Games
 จีน: Shanda Games
เอนจินICube
เครื่องเล่นไมโครซอฟท์ วินโดวส์
วางจำหน่าย เกาหลีใต้: ตุลาคม ค.ศ. 2008
 ไทย: กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009
 อินโดนีเซีย: กรกฎาคม ค.ศ. 2009
 รัสเซีย: 4 ธันวาคม ค.ศ. 2009
 บราซิล: 3 สิงหาคม ค.ศ. 2010
 ตุรกี: 10 สิงหาคม ค.ศ. 2010
 เปรู: 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010
 สหรัฐ: 10 ธันวาคม ค.ศ. 2010
 ฟิลิปปินส์: 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2011
 จีน:
แนวเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง
รูปแบบวิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว
วิดีโอเกมหลายผู้เล่น

พอยท์แบลงค์ (เกาหลี: 포인트 블랭크; อังกฤษ: Point Blank) เป็นเกมออนไลน์ยุทธวิธียิงปืนมุมมองบุคคลที่หนึ่งที่ได้รับการพัฒนาโดย Zepetto ซึ่งเป็นบริษัทในประเทศเกาหลีใต้

รูปแบบการเล่น

พอยท์แบลงค์เป็นเกมยิงก้าวเท้าอย่างรวดเร็วในมุมมองบุคคลที่หนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันกับเคาน์เตอร์-สไตรก์มากในแง่ของการเล่น

การพัฒนา

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:เกมออนไลน์

หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่พัฒนาขึ้นในประเทศเกาหลีใต้

{{โครงเกม}}

en:Point Blank (2008 video game)

เซนต์เซย์ย่า ภาคโหมโรงสู่ภาคสวรรค์

B20180/กระบะทราย 2
กำกับชิเงยาสุ ยามาอุจิ
เขียนบทบทภาพยนตร์:
มิชิโกะ โยโกเตะ
อากาสุกิ ยามาโทยะ
เรื่องต้นฉบับ:
มาซามิ คุรุมาดะ
นักแสดงนำโทรุ ฟุรุยะ
เคย์โก ฮัง
ยุริกะ ฮิโนะ
ฮิกะรุ มิโดริกะวะ
ตัดต่อชิเกะรุ นิชิยะมะ
ดนตรีประกอบเซอิจิ โยะโกะฮะมะ
บริษัทผู้สร้าง
ผู้จัดจำหน่ายโตเอคอมพานี
วันฉายญี่ปุ่น 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004
บราซิล 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006
อิตาลี 24 มกราคม ค.ศ. 2009
ความยาว85 นาที
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ภาษาญี่ปุ่น
ก่อนหน้านี้Saint Seiya: Warriors of the Final Holy War

เซนต์เซย์ย่า ภาคโหมโรงสู่ภาคสวรรค์ (ญี่ปุ่น: 聖闘士星矢 天界編 序奏 〜overture〜; อังกฤษ: Saint Seiya Heaven Chapter: Overture) เป็นภาพยนตร์อนิเมชัน ค.ศ. 2004 ที่ดัดแปลงมาจากอะนิเมะและมังงะซีรีส์เซนต์เซย์ย่า กำกับโดย ชิเงยาสุ ยามาอุจิ เขียนบทโดย มิชิโกะ โยโกเตะ และ อากาสุกิ ยามาโทยะ ภาพยนตร์ชุดนี้เปิดตัวครั้งแรกในโรงภาพยนตร์ของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004

โครงเรื่อง

ตัวละครใหม่

อาร์เทมิส (アルテミス)
พากย์โดย: ยูกิระ ฮิโนะ
อพอลโล (アポロン)
พากย์โดย: คาสุฮิโระ ยามะจิ

แองเจิ้ล

เหล่าแองเจิ้ล (天闘士) ต่างได้รับเลือก

อิคารอส (イカロス)
พากย์โดย: ฮิคารุ มิโดริคาวะ
โอดิซุส (オデュッセウス)
พากย์โดย: ฮิโรกิ ทาคาฮาชิ
เธเซอุส (テセウス)
พากย์โดย: โทะชิยุกิ โมะริกะวะ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{เซนต์เซย์ย่า}}

หมวดหมู่:เซนต์เซย์ย่า

หมวดหมู่:อะนิเมะที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2547

หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่นแนวเซเน็น

{{โครงการ์ตูน}}

en:Saint Seiya Heaven Chapter: Overture

es:Saint Seiya Tenkai-hen ~Overture~

fr:Tenkai-hen Josō : Overture

it:Le porte del paradiso

ja:聖闘士星矢 天界編 序奏〜overture〜

pl:Saint Seiya: Niebiański Rozdział – Uwertura

pt:Prólogo do Céu

มหาวิทยาลัยออสโล

en:University of Oslo

ฮวาง อินซิก

ฮวาง อินซิก
ไฟล์:ฮวาง อินซิก.jpg
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด13 กันยายน พ.ศ. 2483 (83 ปี)
อาชีพนักแสดง
ไฟล์:ฮวาง อินซิก กับ บรูซ ลี.jpg
ฉากการต่อสู้ระหว่างฮวาง อินซิก กับบรูซ ลี ในไอ้หนุ่มซินตึ๊ง บุกกรุงโรม

ฮวาง อินซิก (เกาหลี: 황인식; อังกฤษ: Hwang In-Shik)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{lifetime}}

en:Hwang In-Shik

จี ฮันแจ

จี ฮันแจ
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิดค.ศ. 1936 (อายุ 87–88 ปี)
อันดง จังหวัดคย็องซังเหนือ ประเทศเกาหลีใต้
อาชีพนักแสดง
ไฟล์:จี ฮันแจ กับ บรูซ ลี.jpg
ฉากการต่อสู้ระหว่างจี ฮันแจ กับบรูซ ลี ในไอ้หนุ่มซินตึ๊ง เกมมังกร

จี ฮันแจ (เกาหลี: 지한재; อังกฤษ: Ji Han-Jae)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{lifetime}}

en:Ji Han-Jae