ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| บรรณาธิการบริหาร = [[ตุลย์ ศิริกุลพิพัฒน์]]
| บรรณาธิการบริหาร = [[ตุลย์ ศิริกุลพิพัฒน์]]
| บรรณาธิการในอดีต =
| บรรณาธิการในอดีต =
| ก่อตั้ง = 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533
| ก่อตั้ง = 23 มีนาคม พ.ศ. 2530
| การเมือง =
| การเมือง =
| ภาษา = [[ภาษาไทย]]
| ภาษา = [[ภาษาไทย]]
| ฉบับสุดท้าย = 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
| ฉบับสุดท้าย = 1 เมษายน พ.ศ. 2555
| ราคา = 20.00 บาท
| ราคา = 20.00 บาท
| สำนักงานใหญ่ = [[บ้านพระอาทิตย์]] [[ถนนพระอาทิตย์]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| สำนักงานใหญ่ = [[บ้านพระอาทิตย์]] [[ถนนพระอาทิตย์]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}


'''ผู้จัดการ''' ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]พ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล [[สุจินดา คราประยูร|พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น [[เดอะเนชั่น]], [[กรุงเทพธุรกิจ]] และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่ว[[กรุงเทพมหานคร]] เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบน[[ถนนราชดำเนิน]] จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน
'''ผู้จัดการ''' ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2530 โดย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]พ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล [[สุจินดา คราประยูร|พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น [[เดอะเนชั่น]], [[กรุงเทพธุรกิจ]] และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่ว[[กรุงเทพมหานคร]] เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบน[[ถนนราชดำเนิน]] จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน


อย่างไรก็ตาม วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ก็ทำให้เครือผู้จัดการประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรง และในที่สุด [[ธนาคาร]]หลายแห่งก็ฟ้องล้มละลาย และศาลได้ตัดสินให้สนธิเป็นบุคคลล้มละลาย ในช่วงปี พ.ศ. 2544 โดยผู้จัดการรายวัน มีชื่อเสียงโดดเด่น จากคอลัมน์''ข่าวปนคน คนปนข่าว'' ของ''เซี่ยงเส้าหลง'' ซึ่งเป็น[[นามปากกา]]ของสนธิ, คอลัมน์''คันปาก'' โดยนามปากกา''[[ซ้อเจ็ด]]'' และหนังสือพิมพ์ล้อเลียน''ผู้จัดกวน'' ทั้งนี้ หลังจากสนธิเริ่มจัดรายการ[[เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร]] เมื่อปี พ.ศ. 2548 ซึ่งพัฒนาไปเป็น[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ในปี พ.ศ. 2549 นั้น ผู้จัดการรายวัน ก็ได้แปรสภาพไปเป็นกระบอกเสียงของรายการฯ และกลุ่มพันธมิตรฯ ร่วมกับ[[สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี]] ช่อง[[NEWS1|นิวส์วัน]]เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 [[ศาลล้มละลายกลาง]]พิจารณาเห็นสมควรให้ บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เจ้าของหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือผู้จัดการ มีสภาพล้มละลาย เนื่องจากมีหนี้สินกว่า 4,726 ล้านบาท จึงมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวโดยเด็ดขาด ซึ่งชื่อหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือทั้งหมด ก็ถือเป็นทรัพย์สินของบริษัทฯ ตามกฎหมายเช่นกัน จึงไม่สามารถออกหนังสือพิมพ์และนิตยสาร โดยใช้ชื่อเดิมอีกต่อไปหลังจากใช้ชื่อเดิมไม่ได้อีกต่อไป ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ยังคงปฏิบัติงานตามปกติ และยังพยายามออกหนังสือพิมพ์อย่างต่อเนื่อง โดยเลี่ยงไปใช้ชื่อใหม่ที่คล้ายคลึงกับชื่อเดิม ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการลอกเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น ทั้งนี้ ชื่อต่างๆ ที่ใช้ออกหนังสือพิมพ์ในแต่ละวัน มีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
อย่างไรก็ตาม วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ก็ทำให้เครือผู้จัดการประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรง และในที่สุด [[ธนาคาร]]หลายแห่งก็ฟ้องล้มละลาย และศาลได้ตัดสินให้สนธิเป็นบุคคลล้มละลาย ในช่วงปี พ.ศ. 2544 โดยผู้จัดการรายวัน มีชื่อเสียงโดดเด่น จากคอลัมน์''ข่าวปนคน คนปนข่าว'' ของ''เซี่ยงเส้าหลง'' ซึ่งเป็น[[นามปากกา]]ของสนธิ, คอลัมน์''คันปาก'' โดยนามปากกา''[[ซ้อเจ็ด]]'' และหนังสือพิมพ์ล้อเลียน''ผู้จัดกวน'' ทั้งนี้ หลังจากสนธิเริ่มจัดรายการ[[เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร]] เมื่อปี พ.ศ. 2548 ซึ่งพัฒนาไปเป็น[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ในปี พ.ศ. 2549 นั้น ผู้จัดการรายวัน ก็ได้แปรสภาพไปเป็นกระบอกเสียงของรายการฯ และกลุ่มพันธมิตรฯ ร่วมกับ[[สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี]] ช่อง[[NEWS1|นิวส์วัน]]เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 [[ศาลล้มละลายกลาง]]พิจารณาเห็นสมควรให้ บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เจ้าของหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือผู้จัดการ มีสภาพล้มละลาย เนื่องจากมีหนี้สินกว่า 4,726 ล้านบาท จึงมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวโดยเด็ดขาด ซึ่งชื่อหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือทั้งหมด ก็ถือเป็นทรัพย์สินของบริษัทฯ ตามกฎหมายเช่นกัน จึงไม่สามารถออกหนังสือพิมพ์และนิตยสาร โดยใช้ชื่อเดิมอีกต่อไปหลังจากใช้ชื่อเดิมไม่ได้อีกต่อไป ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ยังคงปฏิบัติงานตามปกติ และยังพยายามออกหนังสือพิมพ์อย่างต่อเนื่อง โดยเลี่ยงไปใช้ชื่อใหม่ที่คล้ายคลึงกับชื่อเดิม ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการลอกเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น ทั้งนี้ ชื่อต่างๆ ที่ใช้ออกหนังสือพิมพ์ในแต่ละวัน มีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
{{เครือผู้จัดการ}}
{{เครือผู้จัดการ}}
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2533]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2530]]
[[หมวดหมู่:เว็บไซต์ข่าวในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:เว็บไซต์ข่าวในประเทศไทย]]
{{โครงหนังสือพิมพ์}}
{{โครงหนังสือพิมพ์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:55, 24 มิถุนายน 2563

ผู้จัดการ
ประเภทหนังสือพิมพ์รายวัน
ขนาดธุรกิจ (Business)
เจ้าของบริษัท แนเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด มหาชน
ผู้เผยแพร่โรงพิมพ์ตะวันออก
หัวหน้าบรรณาธิการสนธิ ลิ้มทองกุล
บรรณาธิการบริหารตุลย์ ศิริกุลพิพัฒน์
ก่อตั้งเมื่อ23 มีนาคม พ.ศ. 2530
ภาษาภาษาไทย
ฉบับสุดท้าย1 เมษายน พ.ศ. 2555
สำนักงานใหญ่บ้านพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ผู้จัดการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2530 โดยสนธิ ลิ้มทองกุล เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬพ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล พล.อ.สุจินดา คราประยูร ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบนถนนราชดำเนิน จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน

อย่างไรก็ตาม วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ก็ทำให้เครือผู้จัดการประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรง และในที่สุด ธนาคารหลายแห่งก็ฟ้องล้มละลาย และศาลได้ตัดสินให้สนธิเป็นบุคคลล้มละลาย ในช่วงปี พ.ศ. 2544 โดยผู้จัดการรายวัน มีชื่อเสียงโดดเด่น จากคอลัมน์ข่าวปนคน คนปนข่าว ของเซี่ยงเส้าหลง ซึ่งเป็นนามปากกาของสนธิ, คอลัมน์คันปาก โดยนามปากกาซ้อเจ็ด และหนังสือพิมพ์ล้อเลียนผู้จัดกวน ทั้งนี้ หลังจากสนธิเริ่มจัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร เมื่อปี พ.ศ. 2548 ซึ่งพัฒนาไปเป็นพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในปี พ.ศ. 2549 นั้น ผู้จัดการรายวัน ก็ได้แปรสภาพไปเป็นกระบอกเสียงของรายการฯ และกลุ่มพันธมิตรฯ ร่วมกับสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี ช่องนิวส์วันเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ศาลล้มละลายกลางพิจารณาเห็นสมควรให้ บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เจ้าของหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือผู้จัดการ มีสภาพล้มละลาย เนื่องจากมีหนี้สินกว่า 4,726 ล้านบาท จึงมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวโดยเด็ดขาด ซึ่งชื่อหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือทั้งหมด ก็ถือเป็นทรัพย์สินของบริษัทฯ ตามกฎหมายเช่นกัน จึงไม่สามารถออกหนังสือพิมพ์และนิตยสาร โดยใช้ชื่อเดิมอีกต่อไปหลังจากใช้ชื่อเดิมไม่ได้อีกต่อไป ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ยังคงปฏิบัติงานตามปกติ และยังพยายามออกหนังสือพิมพ์อย่างต่อเนื่อง โดยเลี่ยงไปใช้ชื่อใหม่ที่คล้ายคลึงกับชื่อเดิม ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการลอกเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น ทั้งนี้ ชื่อต่างๆ ที่ใช้ออกหนังสือพิมพ์ในแต่ละวัน มีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้