ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินีโคไลที่ 2 แห่งรัสเซีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
บรรทัด 38: บรรทัด 38:


==ซาเรวิช==
==ซาเรวิช==
ในปี 1881<ref>1 March 1881 in the Julian Calendar then in use in Russia, which is the same day as 13 March 1881 in the Gregorian Calendar used elsewhere at that time.</ref> พระอัยกาของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 [[จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2]] ถูกลอบปลงพระชนม์หน้าพระราชวังฤดูหนาวในเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก<ref>[[#Massie1967|Massie (1967)]] p. 38</ref> และเสด็จสวรรคตหลังจากนั้นไม่นาน โดยพระราชโอรสของพระเจ้าซาร์อเล็กซันเดอร์ที่ 2 ได้ขึ้นครองราชย์เป็น [[จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3]] และยกพระอิสริยยศของพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทุกพระองค์รวมถึงตัวพระองค์เองด้วยที่เลื่อนขึ้นไปเป็นซาเรวิชนิโคลัส มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ซึ่งหลังจากการลอบปลงพระชนม์ของพระอัยกา ทำให้ราชวงศ์ต้องอพยพไปประทับยัง [[พระราชวังอนิชคอฟ]] (Anichkov Palace) แทน
ในปี 1881<ref>1 March 1881 in the Julian Calendar then in use in Russia, which is the same day as 13 March 1881 in the Gregorian Calendar used elsewhere at that time.</ref> พระอัยกาของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 [[จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2]] ถูกลอบปลงพระชนม์หน้าพระราชวังฤดูหนาวในเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก<ref>[[#Massie1967|Massie (1967)]] p. 38</ref> และเสด็จสวรรคตหลังจากนั้นไม่นาน โดยพระราชโอรสของจักรพรรดิอเลคซันดร์ที่ 2 ได้ขึ้นครองราชย์เป็น [[จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3]] และยกพระอิสริยยศของพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทุกพระองค์รวมถึงตัวพระองค์เองด้วยที่เลื่อนขึ้นไปเป็นซาเรวิชนิโคลัส มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ซึ่งหลังจากการลอบปลงพระชนม์ของพระอัยกา ทำให้ราชวงศ์ต้องอพยพไปประทับยัง [[พระราชวังอนิชคอฟ]] (Anichkov Palace) แทน


[[ไฟล์:Tsarevich in Siam.jpg|thumb|left|ซาเรวิชนิโคลัสขณะเยือนสยาม]]
[[ไฟล์:Tsarevich in Siam.jpg|thumb|left|ซาเรวิชนิโคลัสขณะเยือนสยาม]]
หลังจากที่นิโคลัสได้รับตำแหน่งซาเรวิชมาได้ไม่นาน ในปี 1890 ซาเรวิชนิโคลัสได้เดินทางท่องเที่ยวไปทั่วทั้งเอเชีย เพื่อดูการเมืองการปกครอง และวัฒนธรรมของเหล่าชาติในเอเชีย ซึ่งในการท่องเที่ยวครั้งนี้พระองค์ไปพร้อมกับ น้องชาย[[แกรนด์ดยุคจอร์ช อเล็กซานโดรวิช]] และลูกพี่ลูกน้อง[[เจ้าชายจอร์ชแห่งกรีกและเดนมาร์ก]] โดยทั้งสามคนได้เดินทางไปยัง[[อียิปต์]]เป็นที่แรก ต่อด้วย[[อินเดีย]] [[สิงคโปร์]]รวมถึง[[สยาม]]ด้วย โดยซาเรวิชนิโคลัสได้เข้าพบ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ในปี 1891 ซึ่งทางสยามได้จัดงานต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ อีกทั้งยังเชิญซาเรวิชไปสด็จไปทอดพระเนตรการคล้องช้างที่อยุธยาและประทับที่วังบางปะอินด้วย<ref>พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 กับประเทศสยาม(2012). จากtalk.mthai.com</ref> ซึ่งจากเหตุนี้เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จประพาสยุโรปและรัสเซีย ทางราชสำนักรัสเซียก็ต้อนรับอย่างดีเช่นกัน
หลังจากที่นิโคลัสได้รับตำแหน่งซาเรวิชมาได้ไม่นาน ในปี 1890 ซาเรวิชนิโคลัสได้เดินทางท่องเที่ยวไปทั่วทั้งเอเชีย เพื่อดูการเมืองการปกครอง และวัฒนธรรมของเหล่าชาติในเอเชีย ซึ่งในการท่องเที่ยวครั้งนี้พระองค์ไปพร้อมกับ น้องชาย[[แกรนด์ดยุคจอร์ช อเล็กซานโดรวิช]] และลูกพี่ลูกน้อง[[เจ้าชายจอร์ชแห่งกรีกและเดนมาร์ก]] โดยทั้งสามคนได้เดินทางไปยัง[[อียิปต์]]เป็นที่แรก ต่อด้วย[[อินเดีย]] [[สิงคโปร์]]รวมถึง[[สยาม]]ด้วย โดยซาเรวิชนิโคลัสได้เข้าพบ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ในปี 1891 ซึ่งทางสยามได้จัดงานต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ อีกทั้งยังเชิญซาเรวิชไปสด็จไปทอดพระเนตรการคล้องช้างที่อยุธยาและประทับที่วังบางปะอินด้วย<ref>พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 กับประเทศสยาม(2012). จากtalk.mthai.com</ref> ซึ่งจากเหตุนี้เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จประพาสยุโรปและรัสเซีย ทางราชสำนักรัสเซียก็ต้อนรับอย่างดีเช่นกัน
[[ไฟล์:Prince Nicolas at Nagasaki.jpg|thumb|left|ซาเรวิชนิโคลัสขณะเยือนญี่ปุ่น]]
[[ไฟล์:Prince Nicolas at Nagasaki.jpg|thumb|left|ซาเรวิชนิโคลัสขณะเยือนญี่ปุ่น]]
การเดินทางของพระองค์จบลงที่ประเทศญี่ปุ่น หลังความพยายามลอบสังหารพระองค์ที่ญี่ปุ่นล้มเหลว หรือที่เรียกว่า[[กรณีโอตสึ]] ทำให้พระองค์เดินทางกลับเซนต์ปีเตอร์เบิร์กในเวลาไม่นานหลังจากนั้น ก่อนที่จะมีแผนให้สร้าง[[ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย]]เพื่อการคมนาคมระหว่างผั่งตะวันตกและตะวันออกให้สะดวกขึ้น ต่อมาในปี 1893 พระองค์ก็ได้เสด็จเยือน[[ลอนดอน]]เมืองหลวงของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]] เพื่อเป็นตัวแทนของจักรวรรดิรัสเซียในการเข้าร่วมงานอภิเษกสมรสของ[[พระเจ้าจอร์ชที่ 5]] (ขณะนั้นยังคงดำรงตำแหน่งดยุคแห่งยอร์ก) กับ[[มาเรียแห่งเท็ค]] ซึ่งในการมาเยือนในครั้งนี้ สมเด็จพระราชินีนาถวิคตอเรียได้กล่าวถึงใบหน้าของทั้งพระองค์และพระเจ้าจอร์ชที่ 5 ว่ามีความคล้ายจนแทบจะเหมือนฝาแฝดกันเลยทีเดียว
การเดินทางของพระองค์จบลงที่ประเทศญี่ปุ่น หลังความพยายามลอบสังหารพระองค์ที่ญี่ปุ่นล้มเหลว หรือที่เรียกว่า[[กรณีโอตสึ]] ทำให้พระองค์เดินทางกลับเซนต์ปีเตอร์เบิร์กในเวลาไม่นานหลังจากนั้น ก่อนที่จะมีแผนให้สร้าง[[ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย]]เพื่อการคมนาคมระหว่างผั่งตะวันตกและตะวันออกให้สะดวกขึ้น ต่อมาในปี 1893 พระองค์ก็ได้เสด็จเยือน[[ลอนดอน]]เมืองหลวงของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]] เพื่อเป็นตัวแทนของจักรวรรดิรัสเซียในการเข้าร่วมงานอภิเษกสมรสของ[[พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 5]] (ขณะนั้นยังคงดำรงตำแหน่งดยุกแห่งยอร์ก) กับ[[มาเรียแห่งเท็ค]] ซึ่งในการมาเยือนในครั้งนี้ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียได้กล่าวถึงใบหน้าของทั้งพระองค์และพระเจ้าจอร์จที่ 5 ว่ามีความคล้ายจนแทบจะเหมือนฝาแฝดกันเลยทีเดียว


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 31 ตุลาคม 2562

นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย
พระบรมฉายาลักษณ์จักรพรรดินิโคลัสที่ 2
จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย
ครองราชย์1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 – 15 มีนาคม ค.ศ.1917
ราชาภิเษก26 พฤษภาคม ค.ศ. 1896
ก่อนหน้าจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3
ถัดไปสิ้นสุดระบอบกษัตริย์
ประสูติ18 พฤษภาคม ค.ศ. 1868
พระราชวังอะเลคซันดร์, ซาร์สกอเย เซโล, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, จักรวรรดิรัสเซีย
สวรรคต17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918(1918-07-17) (50 ปี)
คฤหาสน์อิปาเตียฟ, เยคาเตรินบุร์ก, โซเวียตรัสเซีย
ฝังพระศพ1 กฎาคม ค.ศ. 1998
มหาวิหารปีเตอร์และปอล, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, สหพันธรัฐรัสเซีย
คู่อภิเษกจักรพรรดินีอะเลคซันดรา
พระราชบุตรแกรนด์ดัชเชสโอลกา

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา
แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย
แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียา

แกรนด์ดยุกอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช
พระนามเต็ม
นิโคไล อะเลคซันโดรวิช โรมานอฟ
ราชวงศ์โฮลสเตน - กอททรอป - โรมานอฟ
พระราชบิดาจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3
พระราชมารดาจักรพรรดินีมารีเยีย
ศาสนาออร์โธดอกซ์รัสเซีย
ลายพระอภิไธย

จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (รัสเซีย: Николай II, Николай Александрович Романов, tr. Nikolai II, Nikolai Alexandrovich Romanov) หรือ นิโคลัสที่ 2 (อังกฤษ: Nicholas II; 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1868 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918) เป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซีย, แกรนด์ดยุคฟินแลนด์และกษัตริย์แห่งโปแลนด์โดยสิทธิ์พระองค์สุดท้าย เช่นเดียวกับจักรพรรดิรัสเซียองค์อื่น ๆ พระองค์เป็นที่รู้จักด้วยพระอิสริยยศ ซาร์ บรรดาศักดิ์โดยย่ออย่างเป็นทางการของพระองค์ คือ นิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย ศาสนจักรออโธด็อกซ์รัสเซียออกพระนามพระองค์ว่า นักบุญนิโคลัสผู้แบกมหาทรมาน (Passion-Bearer) และถูกเรียกว่า นักบุญนิโคลัสมรณสักขี

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ทรงปกครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 จนถูกบีบให้สละราชสมบัติเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1917 ในรัชกาลของพระองค์ จักรวรรดิรัสเซียจากที่เคยเป็นมหาอำนาจชั้นนำชาติหนึ่งของโลกกลายเป็นล่มสลายทางเศรษฐกิจและทหาร ศัตรูการเมืองให้สมญาพระองค์ว่า นิโคลัสผู้กระหายเลือด เพราะโศกนาฏกรรมโฮดึนคา โพกรมต่อต้านยิวที่ถูกกล่าวหา วันอาทิตย์นองเลือด ซึ่งเป็นการปราบปรามการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1905 อย่างรุนแรง การประหารชีวิตและเนรเทศศัตรูทางการเมืองจำนวนมากของพระองค์ และการติดตามการทัพในขนาดที่ไม่เคยมีมาก่อน

ภายใต้การปกครองของพระองค์ รัสเซียปราชัยอย่างน่าขายหน้าในสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ซึ่งกองเรือบอลติกรัสเซียเกือบถูกทำลายสิ้นที่ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะ ความตกลงอังกฤษ-รัสเซียซึ่งออกแบบมาเพื่อตอบโต้ความพยายามของเยอรมนีเพื่อเพิ่มอิทธิพลในตะวันออกกลาง ยุติเกมใหญ่ระหว่างรัสเซียกับสหราชอาณาจักร ในฐานะประมุขแห่งรัฐ จักรพรรดินิโคลัสทรงอนุมัติการระดมพลรัสเซียในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1914 อันเป็นจุดเริ่มต้นของการเข้ามามีส่วนของรัสเซียในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อันเป็นสงครามซึ่งทำให้มีชาวรัสเซียเสียชีวิต 3.3 ล้านคน

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 สละราชสมบัติให้หลังการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 ซึ่งระหว่างนั้น พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ถูกจำคุกทีแรกที่พระราชวังอเล็กซานเดอร์ที่จักรพรรดิสคอยเซโล แล้วต่อมาในจวนผู้ว่าราชการในโตบอลสค์ และท้ายสุดที่บ้านอีปาตีฟในเยคาเตรินบุร์ก ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1918 นิโคลัสถูกส่งตัวให้สภาโซเวียตอูราลท้องถิ่นโดยผู้ตรวจการ วาซิลี ยาคอฟเลฟ ซึ่งต่อมาได้รับใบเสร็จลายลักษณ์เมื่อมีการส่งมอบตัวนิโคลัสเหมือนพัสดุ นิโคลัส พระชายา อะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา พระราชโอรส อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช พระราชธิดาสี่พระองค์ โอลกา นีคะลายีฟนา, ตะตยานา นีคะลายีฟนา, มารีเยีย นีคะลายีฟนา, อะนัสตาซียา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย และแพทย์ประจำพระองค์ เอฟเกนี บอตคิน มหาดเล็ก อเล็กเซย์ ตรุปป์ นางสนองพระโอษฐ์ในจักรพรรดินี อันนา เดมีโดวา และพ่อครัวประจำพระองค์ อีวาน ฮารีโตนอฟ ถูกบอลเชวิคประหารชีวิตในห้องเดียวกันในคืนวันที่ 16/17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918

ซาเรวิช

ในปี 1881[1] พระอัยกาของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 ถูกลอบปลงพระชนม์หน้าพระราชวังฤดูหนาวในเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก[2] และเสด็จสวรรคตหลังจากนั้นไม่นาน โดยพระราชโอรสของจักรพรรดิอเลคซันดร์ที่ 2 ได้ขึ้นครองราชย์เป็น จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 และยกพระอิสริยยศของพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทุกพระองค์รวมถึงตัวพระองค์เองด้วยที่เลื่อนขึ้นไปเป็นซาเรวิชนิโคลัส มกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย ซึ่งหลังจากการลอบปลงพระชนม์ของพระอัยกา ทำให้ราชวงศ์ต้องอพยพไปประทับยัง พระราชวังอนิชคอฟ (Anichkov Palace) แทน

ซาเรวิชนิโคลัสขณะเยือนสยาม

หลังจากที่นิโคลัสได้รับตำแหน่งซาเรวิชมาได้ไม่นาน ในปี 1890 ซาเรวิชนิโคลัสได้เดินทางท่องเที่ยวไปทั่วทั้งเอเชีย เพื่อดูการเมืองการปกครอง และวัฒนธรรมของเหล่าชาติในเอเชีย ซึ่งในการท่องเที่ยวครั้งนี้พระองค์ไปพร้อมกับ น้องชายแกรนด์ดยุคจอร์ช อเล็กซานโดรวิช และลูกพี่ลูกน้องเจ้าชายจอร์ชแห่งกรีกและเดนมาร์ก โดยทั้งสามคนได้เดินทางไปยังอียิปต์เป็นที่แรก ต่อด้วยอินเดีย สิงคโปร์รวมถึงสยามด้วย โดยซาเรวิชนิโคลัสได้เข้าพบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี 1891 ซึ่งทางสยามได้จัดงานต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่ อีกทั้งยังเชิญซาเรวิชไปสด็จไปทอดพระเนตรการคล้องช้างที่อยุธยาและประทับที่วังบางปะอินด้วย[3] ซึ่งจากเหตุนี้เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปและรัสเซีย ทางราชสำนักรัสเซียก็ต้อนรับอย่างดีเช่นกัน

ซาเรวิชนิโคลัสขณะเยือนญี่ปุ่น

การเดินทางของพระองค์จบลงที่ประเทศญี่ปุ่น หลังความพยายามลอบสังหารพระองค์ที่ญี่ปุ่นล้มเหลว หรือที่เรียกว่ากรณีโอตสึ ทำให้พระองค์เดินทางกลับเซนต์ปีเตอร์เบิร์กในเวลาไม่นานหลังจากนั้น ก่อนที่จะมีแผนให้สร้างทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรียเพื่อการคมนาคมระหว่างผั่งตะวันตกและตะวันออกให้สะดวกขึ้น ต่อมาในปี 1893 พระองค์ก็ได้เสด็จเยือนลอนดอนเมืองหลวงของจักรวรรดิอังกฤษ เพื่อเป็นตัวแทนของจักรวรรดิรัสเซียในการเข้าร่วมงานอภิเษกสมรสของพระเจ้าจอร์จที่ 5 (ขณะนั้นยังคงดำรงตำแหน่งดยุกแห่งยอร์ก) กับมาเรียแห่งเท็ค ซึ่งในการมาเยือนในครั้งนี้ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียได้กล่าวถึงใบหน้าของทั้งพระองค์และพระเจ้าจอร์จที่ 5 ว่ามีความคล้ายจนแทบจะเหมือนฝาแฝดกันเลยทีเดียว

อ้างอิง

  • The Cambridge Biograhical Encyclopedia / Edited by David Cystal-2nd ed., Cambridge University Press, 2000
  1. 1 March 1881 in the Julian Calendar then in use in Russia, which is the same day as 13 March 1881 in the Gregorian Calendar used elsewhere at that time.
  2. Massie (1967) p. 38
  3. พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 กับประเทศสยาม(2012). จากtalk.mthai.com



ก่อนหน้า จักรพรรดินีโคไลที่ 2 แห่งรัสเซีย ถัดไป
จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3
จักรพรรดิแห่งรัสเซีย
(1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 - 15 มีนาคม ค.ศ. 1917)
จักรพรรดิมิฮาอิลที่ 2
จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3
พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์
(1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 - ค.ศ. 1915)
คองเกรสโปแลนด์ถูกรวมเข้ากับจักรวรรดิรัสเซีย
จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3
แกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์
(1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 - 15 มีนาคม ค.ศ. 1917)
สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริก คาร์ลที่ 1 แห่งฟินแลนด์
ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลนด์