ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Brandy Frisky/กิเลส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Brandy Frisky (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Brandy Frisky (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
== คำอธิบายในพระไตรปิฏก ==
== คำอธิบายในพระไตรปิฏก ==


ในพระตรปิฏก กิเลสมักจะมีความเกี่ยวข้องกับความตัญหาทั้งหลายซึ่งส่งผลต่อทั้งร่างกายและจิตใจ
ในพระตรปิฏก กิเลสมักจะมีความเกี่ยวข้องกับความตัญหาทั้งหลายซึ่งส่งผลต่อทั้งร่างกายและจิตใจ ใน[[พระอภิธรรม]]และตำราพุทธศาสนายุคหลัง กิเลสทั้ง 10 ถูกระบุถึงเอาไว้โดยกิเลส 3 ตัวแรกคือ โลภ เกลียด และ หลง ถูกมองว่าเป็นเหตุแ่งทุกข์

=== สุตตันตปิฏก : อุปสรรคทางใจ ===

ใน[[พระสุตันตปิฏก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:35, 14 กรกฎาคม 2559


รบกวนรอให้เสร็จก่อนค่อยมาแก้ไขนะครับ ขอความกรุณา

en:Kleshas_(Buddhism)







กิเลส ใน พุทธศาสนาหมายถึงสภาวะทางจิตที่บดบังจิตใจและส่งผลต่อการกระทำทางใจที่ผิดปกติ ผิดไปจากความเป็นจริง กิเลสยังรวมไปถึงสถาวะทางใจเช่น กังวล กลัว โกรธ ริษยา ปราถนา หดหู่ เป็นต้น

แนวคิดของพุทธทั้งมหายานและเถรวาทระบุว่ากิเลสทั้งปวงมีที่มาจากกิเลส 3 ตัวคือ โทสะ (โกรธ) ราคะ (ยึดติด) และโมหะ (หลงผิด-เพิกเฉย) ในขณะที่ตำราพุทธศาสนายุคแรก ๆ ไม่ได้ให้ความสำคัญกับกิเลสทั้งสาม

คำอธิบายในพระไตรปิฏก

ในพระตรปิฏก กิเลสมักจะมีความเกี่ยวข้องกับความตัญหาทั้งหลายซึ่งส่งผลต่อทั้งร่างกายและจิตใจ ในพระอภิธรรมและตำราพุทธศาสนายุคหลัง กิเลสทั้ง 10 ถูกระบุถึงเอาไว้โดยกิเลส 3 ตัวแรกคือ โลภ เกลียด และ หลง ถูกมองว่าเป็นเหตุแ่งทุกข์

สุตตันตปิฏก : อุปสรรคทางใจ

ในพระสุตันตปิฏก