ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร"

พิกัด: 13°44′37″N 100°29′20″E / 13.743710°N 100.488966°E / 13.743710; 100.488966
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ระเบียงภาพ: เพิ่มรูป
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}

{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| name = วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
| name = วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
บรรทัด 6: บรรทัด 5:
| image_temple = Wat Arun Ratchawararam and Royal Barge Procession.JPG
| image_temple = Wat Arun Ratchawararam and Royal Barge Procession.JPG
| short_describtion = พระปรางค์ยามเย็นพร้อมด้วย[[กระบวนพยุหยาตราชลมารค]]
| short_describtion = พระปรางค์ยามเย็นพร้อมด้วย[[กระบวนพยุหยาตราชลมารค]]
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นเอก <br/>ชนิดราชวรมหาวิหาร<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง], เล่ม 32, ตอน 0 ก, 3 ตุลาคม พ.ศ. 2458, หน้า 289</ref>
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| abbot = [[พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)]]
| special_things = [[วัดประจำรัชกาล]] <br />ใน[[รัชกาลที่ ๒]]
| special_things = วัดประจำรัชกาลที่ 2
| principal_buddha = [[พระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก|พระพุทธธรรมมิศราช โลกธาตุดิลก]]
| principal_buddha = [[พระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก]]
| important_buddha = [[พระพุทธชัมพูนุช]] [[พระแจ้ง]] [[พระพุทธนฤมิตร]]
| important_buddha = [[พระพุทธชัมพูนุช]] [[พระแจ้ง]] [[พระพุทธนฤมิตร]]
| address = 34 [[ถนนอรุณอมรินทร์]] [[แขวงวัดอรุณ]] [[เขตบางกอกใหญ่]] [[กรุงเทพมหานคร]] {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]] [[รหัสไปรษณีย์ทั่วประเทศไทยเรียงตามจังหวัด|10600]]
| address = 34 [[ถนนอรุณอมรินทร์]] [[แขวงวัดอรุณ]] <br/>[[เขตบางกอกใหญ่]] [[กรุงเทพมหานคร]] {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]] [[รหัสไปรษณีย์ทั่วประเทศไทยเรียงตามจังหวัด|10600]]
| entrance_fee = '''รอบนอก''' เข้าชมฟรี <br /> '''บริเวณพระปรางค์''' ชาวต่างชาติ 20 บาท ชาวไทยบริจาคตามกำลังศรัทธา <br />'''บริเวณพระอุโบสถ''' ต้องทำหนังสือขออนุญาตเจ้าอาวาส
| entrance_fee = '''รอบนอก''' เข้าชมฟรี <br /> '''บริเวณพระปรางค์''' ชาวต่างชาติ 20 บาท ชาวไทยบริจาคตามกำลังศรัทธา <br />'''บริเวณพระอุโบสถ''' ต้องทำหนังสือขออนุญาตเจ้าอาวาส
| shouldnt_miss = สักการะพระพุทธชัมพูนุช สักการะพระจุฬามณี
| shouldnt_miss = พระพุทธชัมพูนุช พระจุฬามณี
| activities = '''9 วันหลังออกพรรษา''' <br />ประเพณีทอดผ้าพระกฐิน พระราชทาน
| activities = '''9 วันหลังออกพรรษา''' <br />ประเพณีทอดผ้าพระกฐิน พระราชทาน
| local_tourguide =
| local_tourguide =
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
| do_not_do =
| do_not_do =
| photography =
| photography =
| website = [http://www.watarun.org www.watarun.org]
| เว็บไซต์ = http://www.watarun.org
| footnote =
| footnote =
}}
}}
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
'''วัดอรุณราชวราราม''' หรือที่นิยมเรียกกันใน[[ภาษาพูด]]ว่า '''วัดแจ้ง''' หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า '''วัดอรุณ''' เป็นวัดโบราณ สร้างใน[[สมัยอยุธยา]] ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน ([[วัดนวลนรดิศ]]) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงตั้งราชธานีที่[[กรุงธนบุรี]]ใน [[พ.ศ. 2310]] ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว
'''วัดอรุณราชวราราม''' หรือที่นิยมเรียกกันใน[[ภาษาพูด]]ว่า '''วัดแจ้ง''' หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า '''วัดอรุณ''' เป็นวัดโบราณ สร้างใน[[สมัยอยุธยา]] ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน ([[วัดนวลนรดิศ]]) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงตั้งราชธานีที่[[กรุงธนบุรี]]ใน [[พ.ศ. 2310]] ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว


เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอา[[ป้อมวิชัยประสิทธิ์]]ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐาน[[พระแก้วมรกต]]ที่อัญเชิญมาจาก[[เวียงจันทน์]]ใน [[พ.ศ. 2322]] ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]ใน [[พ.ศ. 2327]]
เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอา[[ป้อมวิชัยประสิทธิ์]]ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐาน[[พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร]]ที่อัญเชิญมาจาก[[เวียงจันทน์]]ใน [[พ.ศ. 2322]] ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]ในปี [[พ.ศ. 2327]]


ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม” ปัจจุบันเจ้าอาวาสคือพระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ (สกุลเดิม ปัญจมะวัต))<ref>[http://touronthai.com/gallery/placeview.php?place_id=18003002 เกี่ยวกับวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]</ref>
ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม” ปัจจุบันเจ้าอาวาสคือ[[พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)]] (สกุลเดิม ปัญจมะวัต))<ref>[http://touronthai.com/gallery/placeview.php?place_id=18003002 เกี่ยวกับวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]</ref>

== ลำดับเจ้าอาวาส ==
นับแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ วัดอรุณราชวรารามมีเจ้าอาวาสสืบลำดับมา ดังนี้
{|class="wikitable" align="center" style="text-align:center"
|- style="background:#cccccc"
| '''ลำดับที่''' || '''รายนาม''' || width=20%|'''เริ่มวาระ''' || width=20%|'''สิ้นสุดวาระ'''
|-
| 1 || พระโพธิวงศาจารย์ || ? || ?
|-
| 2 || พระธรรมไตรโลกาจารย์ || ? || ?
|-
| 3 || [[พระพุทธโฆษาจารย์ (คง)]] || พ.ศ. 2362 || ?
|-
| 4 || [[สมเด็จพระวันรัต (เซ่ง)]] || ? || พ.ศ. 2419
|-
| 5 || [[พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ทอง)]] || พ.ศ. 2419 || พ.ศ. 2424
|-
| 6 || [[สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)|พระเทพโมลี (ฑิต อุทโย)]] || พ.ศ. 2424 || พ.ศ. 2431
|-
| 7 || [[พระราชมุนี (ปุ่น ปุณฺณโก)]] || พ.ศ. 2438 || พ.ศ. 2441
|-
| 8 || [[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ)]] || พ.ศ. 2444 || พ.ศ. 2456
|-
| 9 || [[พระธรรมเจดีย์ (อุ่ม ธมฺมธโร)]] || พ.ศ. 2456 || ?
|-
| 10 || [[พระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค)]] || พ.ศ. 2468 || พ.ศ. 2488
|-
| 11 || [[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)]] || พ.ศ. 2489 || พ.ศ. 2520
|-
| 12 || [[พระธรรมคุณาภรณ์ (เจียร ปภสฺสโร)]] || พ.ศ. 2520 || พ.ศ. 2524
|-
| 13 || [[พระธรรมสิริชัย (บุญเลิศ โฆสโก)]] || พ.ศ. 2525 || พ.ศ. 2551
|-
| 14 || [[พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)]] || พ.ศ. 2552 || ปัจจุบัน
|}


== ระเบียงภาพ ==
== ระเบียงภาพ ==
บรรทัด 58: บรรทัด 93:
{{พระอารามหลวงชั้นเอก}}
{{พระอารามหลวงชั้นเอก}}
{{ไหว้พระ 9 วัด กทม.}}
{{ไหว้พระ 9 วัด กทม.}}

{{เรียงลำดับ|อรุณราชวราราม}}
[[หมวดหมู่:วัดประจำรัชกาล|2]]
[[หมวดหมู่:วัดประจำรัชกาล|2]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร|อรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:ไหว้พระ 9 วัด กรุงเทพมหานคร|อรุณราชวราราม]]
[[หมวดหมู่:ไหว้พระ 9 วัด กรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา|อรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตบางกอกใหญ่|อรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตบางกอกใหญ่]]
[[หมวดหมู่:พระราชวังเดิม]]
[[หมวดหมู่:พระราชวังเดิม]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:12, 3 ธันวาคม 2558

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
พระปรางค์ยามเย็นพร้อมด้วยกระบวนพยุหยาตราชลมารค
แผนที่
ชื่อสามัญวัดอรุณ หรือวัดแจ้ง
ที่ตั้ง34 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ
เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ไทย ประเทศไทย 10600
ประเภทพระอารามหลวงชั้นเอก
ชนิดราชวรมหาวิหาร[1]
นิกายเถรวาท มหานิกาย
พระประธานพระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก
พระพุทธรูปสำคัญพระพุทธชัมพูนุช พระแจ้ง พระพุทธนฤมิตร
เจ้าอาวาสพระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ)
ความพิเศษวัดประจำรัชกาลที่ 2
จุดสนใจพระพุทธชัมพูนุช พระจุฬามณี
กิจกรรม9 วันหลังออกพรรษา
ประเพณีทอดผ้าพระกฐิน พระราชทาน
เว็บไซต์http://www.watarun.org
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ. 2310 ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว

เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอาป้อมวิชัยประสิทธิ์ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2322 ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามในปี พ.ศ. 2327

ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม” ปัจจุบันเจ้าอาวาสคือพระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ) (สกุลเดิม ปัญจมะวัต))[2]

ลำดับเจ้าอาวาส

นับแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ วัดอรุณราชวรารามมีเจ้าอาวาสสืบลำดับมา ดังนี้

ลำดับที่ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 พระโพธิวงศาจารย์ ? ?
2 พระธรรมไตรโลกาจารย์ ? ?
3 พระพุทธโฆษาจารย์ (คง) พ.ศ. 2362 ?
4 สมเด็จพระวันรัต (เซ่ง) ? พ.ศ. 2419
5 พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ทอง) พ.ศ. 2419 พ.ศ. 2424
6 พระเทพโมลี (ฑิต อุทโย) พ.ศ. 2424 พ.ศ. 2431
7 พระราชมุนี (ปุ่น ปุณฺณโก) พ.ศ. 2438 พ.ศ. 2441
8 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ) พ.ศ. 2444 พ.ศ. 2456
9 พระธรรมเจดีย์ (อุ่ม ธมฺมธโร) พ.ศ. 2456 ?
10 พระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค) พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2488
11 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ) พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2520
12 พระธรรมคุณาภรณ์ (เจียร ปภสฺสโร) พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2524
13 พระธรรมสิริชัย (บุญเลิศ โฆสโก) พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2551
14 พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ) พ.ศ. 2552 ปัจจุบัน

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′37″N 100°29′20″E / 13.743710°N 100.488966°E / 13.743710; 100.488966