ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Keela57602 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{issues|จัดรูปแบบ=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
{{issues|จัดรูปแบบ=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
| show_name = โทคุโซ เซนไท เดกะเรนเจอร์
| show_name = ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์
| image = [[ไฟล์:Dekaranger logo.jpg|right|250px]]
| image = [[ไฟล์:Dekaranger logo.jpg|right|250px]]
| genre = [[Tokusatsu]]
| genre = [[Tokusatsu]]
บรรทัด 26: บรรทัด 26:


ในประเทศไทย ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์ ได้รับลิขสิทธิ์โดย [[โรส มีเดีย อินเตอร์เทนเมนท์|บริษัท โรส วิดีโอ จำกัด]] ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรส มีเดีย อินเตอร์เทนเมนท์และเคยออกอากาศอยู่ทาง [[สถานีโทรทัศน์ไอทีวี]] ทุกเช้าวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 8.00-8.30 น. โดยเริ่มฉายตั้งแต่วันเสาร์ที่ [[5 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2549]] เป็นต้นมา และจะฉายเฉพาะวันอาทิตย์ ตั้งแต่วันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]ถึงวันที่ 6 [[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]
ในประเทศไทย ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์ ได้รับลิขสิทธิ์โดย [[โรส มีเดีย อินเตอร์เทนเมนท์|บริษัท โรส วิดีโอ จำกัด]] ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรส มีเดีย อินเตอร์เทนเมนท์และเคยออกอากาศอยู่ทาง [[สถานีโทรทัศน์ไอทีวี]] ทุกเช้าวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 8.00-8.30 น. โดยเริ่มฉายตั้งแต่วันเสาร์ที่ [[5 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2549]] เป็นต้นมา และจะฉายเฉพาะวันอาทิตย์ ตั้งแต่วันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]ถึงวันที่ 6 [[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]



== เรื่องย่อ ==
== เรื่องย่อ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:01, 9 มกราคม 2558

ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์
ประเภทTokusatsu
สร้างโดยToei Company
เขียนโดยNaruhisa Arakawa
Junki Takegami
Michiko Yokote
กำกับโดยKatsuya Watanabe
Masahito Tsujino
Noboru Takemoto
Tarō Sakamoto
Shōjirō Nakazawa
Nobuhiro Suzumura
แสดงนำRyūji Sainei
Tsuyoshi Hayashi
Yōsuke Itō
Ayumi Kinoshita
Mika Kikuchi
Tomokazu Yoshida
Tetsu Inada
Mako Ishino
Mie Namamori
Chiharu Niiyama
บรรยายโดยToshio Furukawa
ผู้ประพันธ์เพลงKōichirō Kameyama
ประเทศแหล่งกำเนิดJapan
จำนวนตอน50
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิตTakeyuki Suzuki
ผู้อำนวยการสร้างSchreck Hedwick
Masamichi Tsuchida
Hideaki Tsukada
Kōichi Yada
ความยาวตอน30 minutes
ออกอากาศ
เครือข่ายTV Asahi
ออกอากาศ16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 (2004-02-16) –
6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005 (2005-02-06)

ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์ (特捜戦隊デカレンジャー โทคุโชเซนไทเดกะเร็นจา) เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 28 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มฉายเมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 และ อวสาน เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005 โดยออกอากาศทุวันอาทิตย์เวลา 7.30-8.00 น. ในช่วงซูเปอร์ฮีโร่ไทม์มีจำนวนตอนทั้งสิ้น 50 ตอน และตอนพิเศษ 2 ตอน คือ The Movie : Full Blast Action และ Dekaranger VS Magiranger

ในประเทศไทย ขบวนการมือปราบผู้พิทักษ์ เดกะเรนเจอร์ ได้รับลิขสิทธิ์โดย บริษัท โรส วิดีโอ จำกัด ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรส มีเดีย อินเตอร์เทนเมนท์และเคยออกอากาศอยู่ทาง สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ทุกเช้าวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 8.00-8.30 น. โดยเริ่มฉายตั้งแต่วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา และจะฉายเฉพาะวันอาทิตย์ ตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549ถึงวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2550

เรื่องย่อ

เดกะเรนเจอร์ ขบวนการนักสู้ขบวนที่ 28 จากปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004)

อันว่าด้วย เรื่องราวของตำรวจจักรวาลที่พิทักษ์ความสงบสุขของมวลมนุษย์ จาก อาชญากรอวกาศ ที่มีชื่อว่า เอเจนท์ อาบูเรล่า ที่ลักลอบนำบุคคลเข้ามาในโลกอย่างผิดกฎหมาย หรือแม้กระทั่งการค้าอาวุธ, ยาเสพติด อย่างผิดกฎหมาย โดยใช้นามแฝงว่า เอเลี่ยนไนเซอร์

ใน เดกะเรนเจอร์ ประกอบไปด้วยสมาชิกที่คัดเลือกมาจากหน่วยต่างๆ เพื่อป้องกันมิให้เหล่าร้าย หมายใช้โลกเป็นแหล่งซ่องสุมกำลังโจร

ตัวละคร

ดู ตัวละครใน เดกะเรนเจอร์

ตัวเลขอักษรที่เดกะเรนเจอร์

ในเดกะเรนเจอร์ นั้น จะมีตัวเลขอักษร ปรากฏที่หน้าอกของเสื้อ ซึ่ง แต่ละคนจะมีเลขไม่เหมือนกัน เช่น

  • เดกะเรด จะเป็น เลข 1 (อารบิก)
  • เดกะบลู จะเป็น เลข 2 (อารบิก)
  • เดกะกรีน จะเป็น เลข 3 (อารบิก)
  • เดกะเยลโล่ เป็น เลข 4 (อารบิก)
  • เดกะพิงค์ เป็น เลข 5 (อารบิก)
  • เดกะมาสเตอร์ เป็น เลข 100 (อารบิก)
  • เดกะเบรก เป็น เลข VI หรือ เลข 6 (โรมัน)
  • เดกะโกลด์ เป็น เลข X หรือเลข 10 (โรมัน)
  • เดกะไบร์ค เป็น เลข M หรือเลข 1,000 (โรมัน)
  • เดกะสวอน นั้น บนชุดหน้าอกของเธอ มิใช่เลขอักษรแต่อย่างใด

ซึ่งจะเห็นได้ว่า ตัวอักษรเลขต่างๆนี้จะเป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งของการจบจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ (ไม่ว่าจะอยู่หน่วยไหนก็ตาม จบมาจะได้หมายเลขนั้น) หรือ ได้เข้ารับราชการในหน่วยที่สังกัด หน่วยแรก เมื่อย้ายไปหน่วยไหนก็ตาม ไม่สามารถที่จะเปลี่ยนหมายเลขได้ตามอำเภอใจได้ จะต้องทำเรื่องขอย้าย ส่งยื่นเรื่องไปให้ผบ.สุงสุดเป็นผู้ดำเนินการขอย้าย

รหัสลับในการแปลงร่าง

สำหรับขบวนการนักสู้ทุกเรื่องนั้น ย่อมที่จะมีรหัสลับในการแปลงร่าง ซึ่งใน เดกะเรนเจอร์ ก็มีเช่นกัน แต่จะมีเพียงบางคนเท่านั้นที่จะมีรหัสลับที่ต่างกันออกไป
ชื่อนักรบ รหัสในการแปลงร่าง (แบบทั่วไป) รหัสในการแปลงร่าง (S.W.A.T. mode)
เดกะเรด Emergency Dekaranger!!! / Emergency !! (รหัสแบบสั้น) S.W.A.T. mode on !!! / Emergency S.W.A.T. mode on !!
เดกะบลู Emergency Dekaranger!!! / Emergency !! (รหัสแบบสั้น) S.W.A.T. mode on !!! / Emergency S.W.A.T. mode on !!
เดกะกรีน Emergency Dekaranger!!! / Emergency !! (รหัสแบบสั้น) S.W.A.T. mode on !!! / Emergency S.W.A.T. mode on !!
เดกะเยลโล่ Emergency Dekaranger!!! / Emergency !! (รหัสแบบสั้น) S.W.A.T. mode on !!! / Emergency S.W.A.T. mode on !!
เดกะพิงค์ Emergency Dekaranger!!! / Emergency !! (รหัสแบบสั้น) S.W.A.T. mode on !!! / Emergency S.W.A.T. mode on !!
เดกะมาสเตอร์ Emergency Dekamaster!!!
เดกะเบรก Emergency Dekabreak!!! / Emergency Dekaranger!! / Emergency !! (รหัสแบบสั้น)
เดกะโกลด์ Emergency Dekaranger!!!
เดกะสวอน Emergency Dekaswan!!!
เดกะไบรท์ Emergency Dekabright!!!
และตามด้วย Face On!
ส่วนคำว่า "Face on" นั้น ก็คือ การสวมหมวก หรือ สวมหน้ากาก นั่นเอง
ตามหลัก จะใช้รหัสสั้นๆ เพียงพูดคำว่า Emengency และใช้อุปกรณ์แปลงร่าง ก็สามารถแปลงร่างได้ ส่วนในกรณีของเดกะเบรก สามารถใช้รหัสตามตำรวจนายอื่นๆ หรือใช้รหัสสั้น ได้
จากแผนผังรหัสแปลงร่าง จะเห็นได้ว่า ส่วนมากตำรวจทุกนายจะต้องมีรหัสแปลงร่าง มากกว่า 1 รหัส ขึ้นไป
สำหรับการแปลงร่างในรูปแบบS.W.A.T.โหมด นั้น สามารถกระทำได้ทั้งเมื่อสวมชุดเดกะสูท หรือ ในชุดปกติ (ยังไม่แปลงร่าง)

อุปกรณ์ต่างๆของ เดกะเรนเจอร์

อุปกรณ์ต่างๆของเดกะเรนเจอร์ จะแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ

  1. ใช้ได้ทั้งก่อนและหลังแปลงร่าง
  2. ใช้ตอนก่อนแปลงร่าง
  3. ใช้ตอนหลังแปลงร่าง

อุปกรณ์ที่ใช้ได้ทั้งก่อนและหลังแปลงร่าง

SP ไลเซนส์ (SP License)

อุปกรณ์แปลงร่างของเดกะเรนเจอร์ มีลักษณะคล้าย สมุดพก บวกกับ เครื่องเล่นiPod มีลักษณะการใช้อยู่ 3 โหมดด้วยกัน คือ

  • Change mode
เป็นโหมดที่ใช้สำหรับการแปลงร่าง และแสดงตัวจับกุม
  • Phone mode
ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับบุคลลต่างๆ สามารถถ่ายทอดภาพและเสียงได้ นอกจากนี้ยังมีระบบอื่นๆเช่น
  • Mirage Dimation
เป็นโหมดที่ใช้ในการจับกุมคนร้ายจำนวนมาก เหมาะสำหรับคนร้ายที่เป็นประเภทเครื่องจักรกล มีระบบไฟ, น้ำ, ลม และระเบิด นอกจากนี้ยังรวมไปถึง การหลอกล่อศัตรูที่เก่งในด้านการสร้างภาพหลอน ให้ติดกับดักตนเองได้ ซึ่งโหมดนี้ จัสมิน/เดกะเยลโล่ จะใช้บ่อยที่สุด
  • Search mode
ใช้ในการค้นหาเป้าหมาย ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์การต่อสู้ได้ โดยการเอาSP ไลเซนส์ สแกนหาหรือใช้ระบบจากเดกะเบสได้
  • Camera mode
ใช้เป้นกล้องถ่ายรูปได้ ซึ่งภาพออกมานั้น สวยงามเลยทีเดียว
  • Judge mode
ใช้ในการพิพากษา ตัดสินคนร้าย จาก ศาลสูงสุดแห่งจักรวาล ซึ่งการตัดสินนั้น ทางศาลสูงสุดแห่งจักรวาลได้ตัดสินจากการกระทำผิด และภาพเหตุการณ์จากระบบเดกะ ที่จะส่งภาพและเสียงในเหตุการณ์ต่างๆ ไปยังศาลสูงสุดแห่งจักรวาล เพื่อตัดสินได้ทันที และในการตัดสินนั้น ผลที่ได้รับออกมา จะมี 2 รูปแบบคือ
  • X (อนุญาตให้ประหาร)

จะขึ้นเป็นรูปกากาบาทสีแดง สามารถตัดสินประหารได้ทันที

  • O (ไม่อนุญาตให้ประหาร)

จะขึ้นเป็นรูปวงกลมสีเขียว ไม่มีการประหาร แต่จะปล่อยตัวผู้ต้องหาไปเท่านั้น

SP ไลเซนส์ ที่ปรากฏในเรื่อง

ในเดกะเรนเจอร์ นั้น SP ไลเซนส์ มีรูปแบบเดียวกัน แต่จะต่างกันที่สีบนตัวเครื่อง แต่ลักษณะการทำงานจะเป็นแบบเดียวกันทั้งหมด

  • SP ไลเซนส์ รุ่นปกติ
สีบนตัวเครื่องจะเป็นสีขาว ฝาเปิดสีดำ ตัวอักษร SPD จะเป็นสีขาว เป็นรุ่นปกติ ที่ตำรวจทุกนายจะได้รับ
  • SP ไลเซนส์ รุ่น Master / มาสเตอร์ ไลเซนส์ (Master License)
สีบนตัวเครื่องสีดำ ฝาเปิดสีดำ ตัวอักษร SPD จะเป็นสีดำ เส้นขอบสีทอง จะต่างจากรุ่นอื่นๆก็คือ จะมีตราพิเศษบนตราตำรวจ ซึ่งจะมีเฉพาะนายตำรวจชั้นสูงระดับพลตำรวจ
  • SP ไลเซนส์ รุ่น ชิราโทริ สวอน / สวอน ไลเซนส์
ตัวเครื่องสีขาว ฝาเปิดสีขาว ตัวอักษร SPD จะเป็นสีส้ม
  • SP ไลเซนส์ รุ่น แมรี่ โกลด์
ตัวเครื่องสีขาว ฝาเปิดสีขาว ตัวอักษร SPD จะเป็นสีทอง
  • SP ไลเซนส์ รุ่น Fire Squad
ตัวเครื่องสีขาว ฝาเปิดสีแดง ตัวอักษร SPD จะเป็นสีขาว และมีชื่อย่อของหน่วย Fire Squad กำกับอยู่ (ชื่อย่อคือ f.s.) ที่ตราตำรวจจะมีเส้นแถบสีแดง ตรงคำว่า POLICE

เบรซ ธร็อตเทิล (Brace Throttle)

อุปกรณ์แปลงร่างของเดกะเบรก (และหน่วยพิเศษที่เดกะเบรก เคยสังกัตอยู่) มีลักษณะคล้าย นาฬิกา แต่มีแฮนด์คันเร่งมอเตอร์ไซด์ เพิ่มเข้ามา ลักษณะการทำงานคล้าย SP ไลเซนส์ เป็นอย่างมาก

อุปกรณ์ที่ใช้ได้ ก่อนแปลงร่าง

  • SP ชู้ตเตอร์ (SP Shooter)
ปืนพกสั้น ประจำตัวตำรวจทุกนาย มีลักษณะคล้ายปืนของเดกะเรด แต่มีขนาดเล็กและสั้นกว่า แต่เมื่อแปลงร่างไปแล้ว อาวุธชิ้นนี้จะหายไปทันที

อุปกรณ์ที่ใช้หลังแปลงร่าง

  • D-อาร์ม
  • D-แม็กนั่ม
  • D-แม็กนั่ม 01
  • D-แม็กนั่ม 02
  • ไฮบริด แม็กนั่ม
  • D-นัคเคิล
สนับมือ ของเดกะบลู , กรีน ,เยลโล่ และพิงค์ สามารถเป็นด้ามจับของปืนต่างๆได้ สามารถใช้ได้ทั้ง 2 แบบคือ
  • นัคเคิล โหมด
ใช้โหมดนี้ ด้วยการจับด้ามปืน แล้วปล่อยหมัดชกไปตรงๆได้
  • แฟลช โหมด
จะใช้โหมดนี้ ด้วยการ กดที่เหนี่ยวไกบนด้ามปืน จะปล่อยแสงแฟลช ทำให้ตาพร่ามัว เพื่อฉวยโอกาสหนี หรือโจมตีศัตรูได้
  • D-ร็อด
กระบอง ขนาดยาวของเดกะบลูและเดกะกรีน ใช้ในการฟาดฟันเป็นหลัก
  • ท่าไม้ตายของเดกะบลู ที่ใช้ D-ร็อด คือ บลู ฟินิช (Blue Finish)
  • ท่าไม้ตายของเดกะกรีน ที่ใช้ D-ร็อด คือ กรีน แครช (Green Crash)
  • D-สติ๊ก
กระบองขนาดสั้น ของ เดกะเยลโลและเดกะพิงค์ ที่ด้ามกระบอง สามารถปล่อยระเบิดขนาดเล็ก "เซนิธ บอมบ์" (Zenith Bomb)
    • เซนิธ บอมบ์ (Zenith Bomb)
ซึ่งเป็นลูกระเบิดขนาดเท่าเหรียญโบราณของประเทศจีน มีด้วยกันทั้งหมด 3 ลูก เมื่อปาออกไป จะสามารถใช้กำจัดศัตรู หรือใช้หลบหนีก็ได้
  • D-สไนเปอร์
ปืนลำกล้องยาว ของ เดกะบลู
  • D-บัสเตอร์
ปืนขนาดกลาง ของเดกะกรีน
  • D-ช็อต
ปืนขนาดสั้นของเดกะเยลโล่และเดกะพิงค์
  • D-ซอร์ด เวก้า
  • ซอร์ด โหมด
  • ไรเฟิล โหมด
ใช้โดยการจับด้ามดาบ ให้มีลักษณะคล้ายกับปืนยาว (สไนเปอร์) จากนั้น กดปุ่มที่หัวสุนัขบนตัวดาบ จะสามารถปล่อยกระสุนได้หลายนัด มีท่าไม้ตายก็คือ เวก้า สแลช
  • D-รีโวลเวอร์
อาวุธประจำตัวของเดกะเรนเจอร์ SWAT โหมดสามารถรวมกับ SP ไลเซนส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการยิงสูงขึ้น

เดกะแมชชีน

เดกะเรนเจอร์โรโบ

หุ่นประจำตัวของ เดกะเรนเจอร์ ที่สำนักงานโลก เกิดจากการประกอบร่างของ พาหนะทั้ง 5 คัน / ลำ ด้วยกัน

เดกะเบส โรโบ

  • เบส โหมด
  • เดกะเบส ครอลเลอร์

เดกะไบค์ โรโบ

หุ่นยนต์ประจำตัวของเดกะเบรก สามารถแปลงร่างจาก มอเตอร์ไซต์ (แมชชีนโหมด) เป็น โหมดหุ่นยนต์ได้

สามารถรวมร่างกับเดกะเรนเจอร์ โรโบ ได้ถึง2รูปแบบคือ

  • ไรดิ้ง เดกะเรนเจอร์ โรโบ (Riding Dekaranger robo)
  • ซูเปอร์ เดกะเรนเจอร์ โรโบ (Super Dekaranger robo)

เดกะวิง โรโบ

เป็นหุ่นยนต์ที่ใช้ตอนเป็นสวาทโหมดปรากฏตัวในตอนที่ 34 และสามารถเปลี่ยนได้ 2 โหมดคือ

โหมดหุ่น (เดกะวิง โรโบ) มีจุดเด่นที่สามารถต่อสู้ได้ทั้งสภาวะแรงโน้มถ่วงของโลกและสภาวะไร้นำหนักเมื่ออยู่บนอวกาศ และสามรถต่อสุ้กับศัตรุที่มีความเร็วสูง

โหมดปืน (เดกะวิง แคนนอน) มีจุดเด่นที่มีลักษณคล้ายปืนสั้น โดยมากมักใช้ในการDelete เอเลี่ยนไนเซอร์ บนอวกาศ แต่สามารถใช้ในโลก ได้เช่นกัน

บลาส บัคกี้

เดกะแมชชีนจากดาวเลสลี่ (ดาวบ้านเกิดของ เดกะโกลด์/แมรี่ โกลด์) สามารถจูนระบบรวมร่าง ให้กับ เดกะเรนเจอร์ โรโบได้ จนเกิดการรวมร่างครั้งใหม่ คือ

  • เดกะเรนเจอร์ โรโบ ฟูล บลาส คัสตอม (Dekaranger robo Full Blast Custom)
เป็นการรวมร่างแบบพิเศษ เพื่อปราบปรามเอเลี่ยนไนเซอร์ วิสกี้ ที่ได้ทำลายดาวเลสลี่จนย่อยยับ ความสามารถพิเศษของเดกะเรนเจอร์โรโบ ฟูล บลาส คัสตอม นี้ จะสามารถยิงมิซไซส์ หรือ กระสุนขนาดเล็ก (มีมากกว่า40นัด) ได้อย่างต่อเนื่อง เหมาะแก่การโจมตีกับศัตรูที่มีจำนวนมาก นอกจากนี้ที่โล่ ยังมี ปืนแก็ตลิ่งที่ติดตั้งอยู่ที่ล้อแม็ก ซึ่งเหมาะแก่การโจมตีจำนวนมากเช่นกัน และยังใช้เป็นขาตั้งปืน เพื่อลดแรงเสียดทานและแรงสะท้อนกลับได้นั้นก็คือไทม์ทะนิมอส์เตอร์

เพลงประกอบหนัง

เพลงเปิด-ปิด

OP (Openning Theme)

ED (Ending Theme)

  • Midnight Dekaranger ร้องโดย อิซาโอะ ซาซากิ
  • Girls in trouble DEKARANGER ถูกใช้ในตอนที่เดกะพิงค์ และเดกะเยลโล่ เป็นตัวเอกประจำตอน ร้องโดย Jusmin & Umeko with dekaran boy
  • The Movie Version DEKARANGER ถูกใช้ในภาค The movie : Full Blast Action

เพลงประจำตัวของเหล่าเดกะเรนเจอร์

  • Bang Bang

เพลงประจำตัวของเดกะเรด / บัน

  • Blue is the sky

เพลงประจำตัวของเดกะบลู / โฮจิ

  • Railway happiness

เพลงประจำตัวของเดกะกรีน / เซนจัง

  • Hard rain

เพลงประจำตัวของเดกะเยลโล่ / จัสมิน

  • Sunao - ima wo shinjite

เพลงประจำตัวของเดกะพิงค์ / อุเมโกะ

  • Dekamaster never stop

เพลงประจำตัวของเดกะมาสเตอร์ / ด็อกกี้ (บอส) ใช้ครั้งแรกในตอนที่ 13

  • Dekabreak zenkai / Tetsu no ishi de

เพลงประจำตัวของ เดกะเบรก / เทซึ ซึ่งมีถึง 2 เพลงด้วยกัน

เพลงที่ 1 ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่ 22-23 และยังเป็นเพลงประจำตัวของหุ่นเดกะไบค์ โรโบ อีกด้วย , ส่วนเพลงที่ 2 เป็นเพลงที่เทซึ ผิวปากร้องเพลง ในเวลาว่าง หรือแม้แต่ตอนทำความสะอาดห้องทำงาน

  • Mother Universe (マザー ユニバース)

เพลงประจำตัวของเดกะสวอน / ป้าสวอน ใช้ในตอนที่ 36 ซึ่งชื่อตอนก็เป็นชื่อเดียวกับชื่อเพลงประจำตัวของป้าสวอน

  • Leslie no aoi tsuki (The month when is blue sky)

เพลงประจำตัวของเดกะโกลด์ / แมรี่ โกลด์ ถูกใช้ในภาคหนังโรง และเป็นเพลงที่แมรี่ ใช้ร้องเพลงในผับ

  • Buddy Murphy

เพลงประจำตัวของ เจ้าเมอร์ฟี่ K-9 ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่ 5 ซึ่งชื่อตอนก็เป็นชื่อเดียวกับชื่อเพลงประจำตัวของเมอร์ฟี่

  • SWAT on Dekaranger

เพลงที่ใช้การเปลี่ยนร่างเป็นสวาทโหมด ใช้ครั้งแรกในตอนที่ 33 ซึ่งชื่อตอนก็แผลงมาจากชื่อเพลงเช่นเดียวกัน

เพลงประจำตัว เหล่าหุ่นยนต์เดกะ

  • Build up!! Dekaranger robo

เพลงประจำตัวหุ่น เดกะเรนเจอร์โรโบ ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่ 2

  • Scramble Dekamachine!!

เพลงตอนปล่อยยานและเป็นเพลงประจำตัวหุ่นเดกะเบสโรโบ ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่1

  • Tobeyo Dekawing robo

เพลงประจำตัวหุ่นเดกะวิงค์โรโบ ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่ 34

รายชื่อตอนในเดกะเรนเจอร์

ชื่อตอนของเดกะเรนเจอร์ ในประเทศญี่ปุ่น ตั้งชื่อโดยการนำภาษาอังกฤษ มาเป็นชื่อตอน
ส่วนในประเทศไทย มีการดัดแปลงชื่อตอนให้เข้ากับเนื้อหา ซึ่งมีเพียงส่วนน้อยที่ทับศัพท์ ใช้ชื่อตอนเดียวกับทางประเทศญี่ปุ่น
:1. มือปราบหน้าใหม่ใจเกินร้อย (ファイヤーボール・ニューカマー = Fireball.Newcomer)
2. วิกฤติหุ่นยักษ์ (ロボ・インパクト = Robo. Impact)
3. บลูผู้สมบูรณ์แบบ (パーフェクト・ブルー = Perfect. Blue)
4. ตะลุยโลกไซเบอร์ (サイバー・ダイブ = Cyber. Drive)
5. เมอร์ฟี่ เพื่อซี้สี่ขา (バディ・マーフィー = Buddy . Murphy)
6. ไขปริศนาเซนจัง (グリーン・ミステリー = Green. Mystery)
7. พลังจิตสื่อใจ (サイレント・テレパシー =Silent. Telepathy )
8. เรนโบวิชั่น (レインボー・ビジョン = Rainbow. Vision)
9. วันยุ่งเหยิงของบัน (ステイクアウト・トラブル = Stakeout. Trouble)
10.เชื่อฉันเถอะ (トラスト・ミー = Thust. Me)
11.เกียรติยศนักแม่ปืน (プライド・スナイパー)
12.ทารกจากต่างดาว (ベビーシッター・シンドローム)
13.การต่อสู้ของสุนัขจนตรอก (ハイヌーン・ドッグファイト)
14.ได้โปรดเถอะบอส (プリーズ・ボス )
15.แอนดรอยส์สาวน้อย (アンドロイド・ガール)
16.จอมทำลายล้างร่างยักษ์ (ジャイアント・デストロイヤー)
17.นางฟ้าคู่พิฆาต (ツインカム・エンジェル)
18.ซามูไรตะวันตก (サムライ・ゴーウエスト = Samurai. Gowest)
19.บลูตัวปลอม (フェイク・ブルー = Fake. Blue)
20.ฮีโร่นักวิ่ง (ランニング・ヒーロー = Running. Hero)
21.สามพี่น้องแห่งนรก (マッド・ブラザーズ = Mad. Brothers)
22.มือปราบหมัดดินระเบิด (フルスロットル・エリート)
23.พลังแห่งความกล้าหาญ (ブレイブ・エモーション = Brave. Emotion)
24.นักต่อรองสาวสวย (キューティー・ネゴシエイター)
25.พยานเอกอาวุโส (ウィットネス・グランマ)
:26.ทะลักจุดเดือด (クール・パッション = Cool. Passion)
27.นักโทษจอมวุ่น (ファンキー・プリズナー)
28.เอเลี่ยนไนเซอร์คืนชีพ (アリエナイザー・リターンズ)
29.กระจกสะท้อนแค้น (ミラー・リベンジャー)
30.มหันตภัยสาวน้อย (ギャル・ハザード)
31.เจ้าหญิงฝึกงาน (プリンセス・トレーニング)
32.ยกทัพไปอัพเกรด (ディシプリン・マーチ)
33.สวาดโหมด ออน! (スワットモード・オン = S.W.A.T. mode . on)
34.เกมอันตราย (セレブ・ゲーム)
35.คดีที่ปิดไม่ลง (アンソルブド・ケース)
36.มาเธอร์ ยูนิเวอร์ส (マザー・ユニバース)
37.การเลื่อนขั้นที่แสนเจ็บปวด (ハードボイルド・ライセンス)
38.สองล้อมหาภัย (サイクリング・ボム)
39.ฝันกระชากวิญญาณ (レクイエム・ワールド)
40.บทเรียนของท่านหัวหน้า (ゴールドバッヂ・エデュケーション)
41.ห้องมายา (トリック・ルーム)
42.สืบจากกระดูก (スカル・トーキング)
43.มฤตยูอุกกาบาต (メテオ・カタストロフ)
44.คริสต์มาสระห่ำเดือด (モータル・キャンペーン)
45.ของขวัญปริศนา (アクシデンタル・プレゼント)
46.รักอลเวง (プロポーズ・パニック)
47.สมองไวหัวใจเดือด (ワイルドハート・クールブレイン)
48.มือปราบสีแดงแซงโค้งสุดท้าย (ファイヤーボール・サクセション)
49.ยึดครองเดกะเบส (デビルズ・デカベース = Devils. Dekabase)
50.ฟอร์เอฟเวอร์เดกะเรนเจอร์ (フォーエバー・デカレンジャー = Forever. Dekaranger)

แหล่งข้อมูลอื่น