มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Miss Grand International 2020)
มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020
{
อาเบนา อัปเปียห์ มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020
วันที่27 มีนาคม พ.ศ. 2564
พิธีกรแมทธิว ดีน
สถานที่จัดไทย โชว์ ดีซี ฮอลล์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[1]
ถ่ายทอดทาง
  • Facebook Live
  • YouTube
เข้าร่วมประกวด63
ผ่านเข้ารอบ20
เข้าร่วมครั้งแรก
ถอนตัว
กลับมาเข้าร่วม
ผู้ชนะเลิศ สหรัฐ
อาเบนา อัปเปียห์
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม กัวเตมาลา
อีบานา แบตเชเลอร์
 ญี่ปุ่น
รุริ ซะจิ
 ไทย
พัชรพร จันทรประดิษฐ์
← 2019
2021 →

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020 (อังกฤษ: Miss Grand International 2020) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 8 เดิมมีกำหนดการณ์ที่จะจัดการประกวดรอบสุดท้าย ณ กรุงการากัส ประเทศเวเนซุเอลา[2][3] ในวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2563[4] โดยครั้งนี้จะถือเป็นครั้งที่ 2 ที่เวเนซุเอลาจะจัดการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล[3]

อย่างไรก็ตาม จากสถานการณ์การระบาดทั่วของเชื้อไวรัสโคโรนา ทำให้การประกวดถูกเลื่อนจากกำหนดการณ์เดิมเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 และเลื่อนอีกครั้งโดยได้มีการประกาศว่า จะจัดขึ้นที่ประเทศไทย โดยผู้เข้าประกวดจะต้องกักตัว 14 วัน ตามนโยบายของรัฐ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิค 19 ตั้งแต่แต่วันที่ 1-14 มีนาคม 2564 โดยประกวดรอบชุดว่ายน้ำ ในวันที่ 19 มีนาคม 2564 รอบชุดประจำชาติ ในวันที่ 24 มีนาคม 2564 รอบคัดเลือก ในวันที่ 25 มีนาคม 2564 และประกวดรอบตัดสิน ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2564 ณ โชว์ดีซี ฮอลล์ กรุงเทพมหานคร[1][5]

หลังเสร็จสิ้นการประกวด ผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020 จะได้รับมงกุฎและสายสะพายจากบาเลนตินา ฟิเกรา ผู้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2019 จากประเทศเวเนซุเอลา[4] ทั้งนี้ผู้ที่ได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020 นั้นต้องย้ายมาพำนักอยู่ในประเทศไทยตลอดช่วงเวลาที่ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 1 ปี เพื่อปฏิบัติภารกิจยุติสงครามและความรุนแรงในทุกรูปแบบ ตามแคมเปญ "Stop the War and Violence" ของการประกวด[6]

ผู้ได้รับตำแหน่งมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020 คือ อาเบนา อัปเปียห์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นตัวแทนจากประเทศสหรัฐอเมริกาคนแรกที่ชนะการประกวด[7]

ผลการประกวด[แก้]

ลำดับ[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020
รองอันดับ 1
รองอันดับ 2
รองอันดับ 3
รองอันดับ 4
10 คนสุดท้าย
20 คนสุดท้าย

$ ได้รับการโหวตเข้ามาอยู่ใน 10 คนสุดท้าย § ได้รับการโหวตเข้ามาอยู่ใน 20 คนสุดท้าย

คะแนนในรอบตัดสิน[แก้]

ประเทศ รอบชุดว่ายน้ำ รอบชุดราตรี
 สหรัฐ 9.73 (2) 9.75 (1)
 ฟิลิปปินส์ 9.62 (5) 9.68 (3)
 กัวเตมาลา 9.59 (6) 9.72 (2)
 อินโดนีเซีย 9.65 (4) 9.65 (4)
 บราซิล 9.77 (1) 9.55 (5)
 ปวยร์โตรีโก 9.45 (8) 9.48 (6)
 ไทย 8.95 (9) 9.45 (7)
 มาเลเซีย N/A 9.39 (8)
 เช็กเกีย 9.55 (7) 9.35 (9)
 อาร์เจนตินา 9.70 (3) 9.15 (10)
 เอลซัลวาดอร์ 8.92 (10)
 สาธารณรัฐโดมินิกัน 8.90 (11)
 ปานามา 8.90 (11)
 เคนยา 8.89 (13)
 เปรู 8.85 (14)
 เม็กซิโก 8.85 (14)
 เวียดนาม 8.75 (16)
 อังกฤษ 8.55 (17)
 ญี่ปุ่น 8.43 (18)
 กัมพูชา 7.55 (19)
 พม่า 7.50 (20)
  ชนะเลิศ
  รองอันดับ 1
  รองอันดับ 2
  รองอันดับ 3
  รองอันดับ 4
  10 คนสุดท้าย
  20 คนสุดท้าย
(#) อันดับในแต่ละรอบของการแข่งขัน

ลำดับการประกาศชื่อ[แก้]

แผนที่แสดงประเทศที่เข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2020
20 คนสุดท้าย
  1.  กัมพูชา
  2.  กัวเตมาลา
  3.  เม็กซิโก
  4.  ไทย
  5.  เปรู
  6.  ญี่ปุ่น
  7.  เอลซัลวาดอร์
  8.  ปานามา
  9.  เวียดนาม
  10.  สหรัฐ
  11.  สาธารณรัฐโดมินิกัน
  12.  เช็กเกีย
  13.  ฟิลิปปินส์
  14.  ปวยร์โตรีโก
  15.  อินโดนีเซีย
  16.  พม่า
  17.  อาร์เจนตินา
  18.  บราซิล
  19.  อังกฤษ
  20.  เคนยา
10 คนสุดท้าย
  1.  มาเลเซีย
  2.  เช็กเกีย
  3.  ปวยร์โตรีโก
  4.  สหรัฐ
  5.  กัวเตมาลา
  6.  ไทย
  7.  อาร์เจนตินา
  8.  บราซิล
  9.  อินโดนีเซีย
  10.  ฟิลิปปินส์
5 คนสุดท้าย
  1.  สหรัฐ
  2.  ฟิลิปปินส์
  3.  บราซิล
  4.  อินโดนีเซีย
  5.  กัวเตมาลา

รางวัลพิเศษ[แก้]

รางวัล ผู้ชนะ
ชุดราตรียอดเยี่ยม
ชุดว่ายน้ำยอดเยี่ยม
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
มิสป๊อปปูลาร์โหวต
พลังประเทศแห่งปี Country’s Choice of the year

การประกวดชุดว่ายน้ำ[แก้]

การประกวดชุดประจำชาติยอดเยี่ยมถูกจัดขึ้นในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 10:00 น. (เวลาประเทศไทย) ณ ภัตตาคารบรีซ โรงแรมทาวเวอร์ คลับ แอท เลอบัว โดยมีการคัดเลือกให้เหลือ 10 คนสุดท้าย มาจากการโหวตโดยนับผลคะแนนจากยอดไลก์จากเฟซบุ๊กเท่านั้น (1 ไลก์ = 1 คะแนน) และกรรมการจะตัดสินผลอีกครั้งเพื่อหาผู้ชนะตำแหน่งชุดว่ายน้ำยอดเยี่ยม ซึ่งได้ประกาศผู้ชนะในรอบตัดสิน ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2564 (เวลาประเทศไทย)

ผลการประกวด การคัดเลือก ผู้เข้าประกวด
ชุดว่ายน้ำยอดเยี่ยม
ผู้ชนะ
10 คนสุดท้าย
โหวต
กรรมการ
20 คนสุดท้าย
โหวต
กรรมการ

หมายเหตุ § = คัดเลือกจากการโหวต

การประกวดชุดประจำชาติ[แก้]

การประกวดชุดประจำชาติยอดเยี่ยมถูกจัดขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 19:00 น. (เวลาประเทศไทย) ณ โชว์ ดีซี ฮอลล์ โดยมีการคัดเลือกให้เหลือ 10 ชุดสุดท้าย (มาจากการโหวต 5 ชุด และจากการคัดเลือกของกรรมการ 5 ชุด) โดยนับผลคะแนนจากยอดไลค์จากเฟซบุ๊ก (1 ไลก์ = 1 คะแนน, 1 แชร์ = 2 คะแนน) และมีการโหวตอีกครั้งเพื่อคัดเหลือ 6 ชุดสุดท้าย (มาจากโหวต 3 ชุด และจากการคัดเลือกของกรรมการ 3 ชุด) โดยนับผลคะแนนจากยอดไลก์จากยูทูบ (ไลก์และกดติดตาม = 1 คะแนน) และกรรมการจะตัดสินผลอีกครั้ง โดยในปีนี้มีชุดชนะเลิศทั้งหมด 3 ชุด ซึ่งได้ประกาศผู้ชนะในรอบตัดสินในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2564 (เวลาประเทศไทย)

ผลการประกวด การคัดเลือก ผู้เข้าประกวด
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
ผู้ชนะ
6 คนสุดท้าย
โหวต
กรรมการ
10 คนสุดท้าย
โหวต
กรรมการ

หมายเหตุ § = คัดเลือกจากการโหวต

มิสป๊อปปูลาร์โหวต[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
มิสป๊อปปูลาร์โหวต
5 คนสุดท้าย
7 คนสุดท้าย

ราชินีกับมงกุฏทองคำ[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
ราชินีกับมงกุฏทองคำ
10 คนสุดท้าย
15 คนสุดท้าย

ทางเลือกของประเทศแห่งปี[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
ทางเลือกของประเทศแห่งปี
5 คนสุดท้าย

หมายเหตุ ผู้ชนะจะผ่านเข้ารอบ 20 คนสุดท้ายโดยอัตโนมัติ

เอ็มจีไอ เพอร์ฟูม แบรนด์แอมบาสเดอร์[แก้]

หน้าใสใน 2.30 นาที. 15 สาวแบรนด์แอมบาสเดอร์สำหรับน้ำหอมแนวใหม่ MGI ได้รับเลือกจากการโหวตยอดนิยมหรือโดยกรรมการ.

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
หน้าใสใน 2.30 นาที

ความท้าทายอาหารไทย[แก้]

ผลการประกวด การคัดเลือก ผู้เข้าประกวด
กินอาหารไทยใน 2 นาที
โหวต
กรรมการ

หมายเหตุ § = คัดเลือกจากการโหวต

แต่งกายชุดประจำชาติไทย[แก้]

ผลการประกวด การคัดเลือก ผู้เข้าประกวด
ทำความรู้จักคุณใน 1 นาที
โหวต
กรรมการ
25 คนสุดท้าย
กรรมการ

หมายเหตุ § = คัดเลือกจากการโหวต

ก่อนมาถึง[แก้]

ผู้ที่ได้คะแนนโหวตสูงสุดเป็น 5 อันดับแรกจะได้รับประทานอาหารร่วมกับคุณณวัฒน์ อิสรไกรศีล คุณเทเรซ่า ชัยวิสุทธิดา และวาเลนติน่า ฟิเกร่า มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล2019

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
ก่อนมาถึง
10 คนสุดท้าย

ผู้เข้าประกวด[แก้]

จำนวนผู้เข้าประกวด 63 คน[8] :

ประเทศ/ดินแดน ผู้เข้าประกวด อายุ ส่วนสูง บ้านเกิด
 แอลเบเนีย ฟีโอเลรา เลโซ 23 1.68 m (5 ft 6 in) ติรานา
 อาร์เจนตินา มาเรียนา บาเรลา 24 1.77 m (5 ft 10 in) บัวโนสไอเรส
บัชคอร์โตสถาน อบีนา เช็คต์ 21 1.76 m (5 ft 9 in) อูฟา
 เบลารุส พอลลี คันนาบิส 26 1.80 m (5 ft 11 in) มินสก์
 โบลิเวีย เทเรซิตา ชานเซส 20 1.82 m (6 ft 0 in) ซานตากรุซเดลาซิเอร์รา
 บราซิล ลาลา แกจิส 27 1.80 m (5 ft 11 in) ปาราอีบา
 บัลแกเรีย วิกตอเรีย ลาซาโรวา 21 1.73 m (5 ft 8 in) ปลอฟดิฟ
 กัมพูชา ฉิลี เทวี 24 1.70 m (5 ft 7 in) ปอยเปต
 แคนาดา ซารา วินเทอร์ 26 1.77 m (5 ft 10 in) ดันแคน
 ชิลี บาเลนตินา เบนาเวนเต 27 1.78 m (5 ft 10 in) บีนาเดลมาร์
 จีน ฟิโอนา เต๋า 28 1.74 m (5 ft 9 in) แคลกะรี
 โคลอมเบีย นาตาเลีย แมนรีเก 21 1.75 m (5 ft 9 in) กูกูตา
 คอสตาริกา กาเบลียรา ฮารา 23 1.75 m (5 ft 9 in) กลัวปิเลส
 ไครเมีย โซเฟียมีร์ คิม 20 1.75 m (5 ft 9 in) ฮาบารอฟสค์
 คิวบา เจนนิเฟอร์ ซานเชสโลเตส 20 1.75 m (5 ft 9 in) ซิเอนฟูเอโกส
 เช็กเกีย เดนิสา สเปอร์เกโรวา 20 1.79 m (5 ft 10 in) เชสเกบุดเยยอวีตเซ
 สาธารณรัฐโดมินิกัน เลดี เลออน 27 1.79 m (5 ft 10 in) ดูอาร์ต
 เอกวาดอร์ ซอนญา ลูนา เมเนนเดส 25 1.80 m (5 ft 11 in) กัวยากิล
 อียิปต์ เวอร์จิเนีย ฮานี 20 1.75 m (5 ft 9 in) ไคโร
 เอลซัลวาดอร์ ลูเซียร์นา มาติเนส 20 1.70 m (5 ft 7 in) ซานตาอานา
 อังกฤษ สเตฟานี ไวแอต 21 1.77 m (5 ft 10 in) ดอร์เซต
 ฟินแลนด์ ลีนา มาลิเนน 27 1.73 m (5 ft 8 in) เฮลซิงกิ
 ฝรั่งเศส มารีน กอมบี 20 1.74 m (5 ft 9 in) อาเมียง
 เยอรมนี อาร์ลินดา เปรนายห์ 27 1.72 m (5 ft 8 in) พริสตีนา
 กัวเตมาลา อีบานา แบตเชเลอร์ 19 1.82 m (6 ft 0 in) เกทซัลทิแนงโก
 อินเดีย สิมราน ชาร์มา 22 1.69 m (5 ft 7 in) ชัยปุระ
 อินโดนีเซีย ออรา คาริสมา 20 1.81 m (5 ft 11 in) ชวาตะวันตก
 อิหร่าน ไอดา มิราห์มาดี 18 1.70 m (5 ft 7 in) แซเกซ
 ไอร์แลนด์ ทีร์นา สเลวิน 26 1.72 m (5 ft 8 in) ดับลิน
 อิตาลี ฟีโลมีนา เวนูโซ 21 1.76 m (5 ft 9 in) โนลา
 จาเมกา โมนีก โทมัส 26 1.79 m (5 ft 10 in) คิงส์ตัน
 ญี่ปุ่น รุริ ซะจิ 25 1.72 m (5 ft 8 in) นีงาตะ
 เคนยา ไอรี เงโด 22 1.72 m (5 ft 8 in) จูจา
 เกาหลี ลี ฮยุน ยัง 25 1.73 m (5 ft 8 in) โซล
 คอซอวอ ฟรอนทินา กาชี 24 1.67 m (5 ft 6 in) พริสตีนา
 ลาว พัทธธณา กิดาพรญ์ 23 1.70 m (5 ft 7 in) เวียงจันทน์
 มาเลเซีย จาซีเบลล์ลิซโซเบล โรเบิร์ต 25 1.73 m (5 ft 8 in) กัวลาลัมเปอร์
 มอริเชียส ทานยา เรเน 23 1.76 m (5 ft 9 in) พอร์ตหลุยส์
 เม็กซิโก อังเฆลา ยูเรียร์ 19 1.78 m (5 ft 10 in) กูเลียกัน
 พม่า ฮาน ไลย 22 1.74 m (5 ft 9 in) เมาะลำเลิง
 เนปาล การา โจชี 21 1.70 m (5 ft 7 in) อาร์คา
 เนเธอร์แลนด์ ซูซา ลิปส์ 27 1.68 m (5 ft 6 in) เบอเกลเอนชอต
 นิการากัว เทเรซา โมเนโร 27 1.70 m (5 ft 7 in) เลยอง
 ไนจีเรีย ชิกาโอดิลี นาอูโดเซน 26 1.80 m (5 ft 11 in) โอนิตชา
 ปานามา แองจี คีธ 26 1.74 m (5 ft 9 in) ปานามาซิตี
 ปารากวัย เดซี เลซคาโน 27 1.77 m (5 ft 10 in) ซานโรเลนโซ
 เปรู มาริซิเอโล กามาร์รา 24 1.77 m (5 ft 10 in) ซานมาร์ติน
 ฟิลิปปินส์ ซาแมนธา เบอร์นาโด 27 1.72 m (5 ft 8 in) ปาลาวัน
 โปแลนด์ มิเลนา ซาโดฟสกา 21 1.77 m (5 ft 10 in) บาบิซ
 โปรตุเกส ซารา ดุก 27 1.70 m (5 ft 7 in) โปร์ตู
 ปวยร์โตรีโก ฟาบิโอลา บาเลนติน กอนซาเลส 21 1.80 m (5 ft 11 in) คามวย
 รัสเซีย กูเซล มูซินา 23 1.78 m (5 ft 10 in) คาซาน
 สกอตแลนด์ เฮเลน มาเฮอร์ 27 1.70 m (5 ft 7 in) เดร์รี
 แอฟริกาใต้ อันโรเนต โรเอลอฟซ์ 26 1.77 m (5 ft 10 in) พริทอเรีย
 สเปน อีริส มิกัวเลส 22 1.74 m (5 ft 9 in) ซานเตียโกเดกอมโปสเตลา
 ศรีลังกา ประธิภา ลียนอรัชชี 21 1.78 m (5 ft 10 in) โคลัมโบ
 สวีเดน เฟลิเซีย บรันเซลล์ 24 1.81 m (5 ft 11 in) ฮูดิกสวาล
 ไทย พัชรพร จันทรประดิษฐ์ 22 1.70 m (5 ft 7 in) ระนอง
 สหรัฐ อาเบนา อัปเปียห์ 27 1.78 m (5 ft 10 in) อักกรา
 อุรุกวัย ฮิเมนา มาร์ติโน 25 1.73 m (5 ft 8 in) กาเนโลเนส
 เวเนซุเอลา เอลีอานา โรฮาส 24 1.83 m (6 ft 0 in) การากัส
 เวียดนาม เหงวียน เลอ หง็อก เทา 21 1.74 m (5 ft 9 in) นครโฮจิมินห์
 เวลส์ แคธรีน แฟนชอว์ 23 1.68 m (5 ft 6 in) สวอนซี

หมายเหตุ[แก้]

เข้าร่วมครั้งแรก[แก้]

กลับมาเข้าร่วม[แก้]

เข้าร่วมการประกวดครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2015:

เข้าร่วมการประกวดครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2016:

เข้าร่วมการประกวดครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2018:

เปลี่ยนตัว[แก้]

  •  โบลิเวีย – มาเรีย เทอราซาส สละตำแหน่งเนื่องจากเหตุผลส่วนตัว และมีการแต่งตั้งเทเรซิตา ชานเซสขึ้นมาแทน ณ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2564
  •  กัมพูชา – เซิง รอธาถูกปลดจากตำแหน่ง Miss Grand Cambodia 2020 ณ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2564 และรองอันดับ 1 ถูกปลดจากตำแหน่ง จากนั้นทางกองประกวดได้เลื่อนตำแหน่งรองอันดับ 2 คือ ฉิลี เทวี เป็นมิสแกรนด์กัมพูชาคนใหม่ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
  •  คิวบา – เจนนิเฟอร์ ซานเชส ถูกแต่งตั้งให้เป็นมิสแกรนด์คิวบา 2020 ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ หลังจากจีเซล วาลเลียนท์ผู้ดำรงตำแหน่งเดิมติดเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งเธอจะได้ดำรงตำแหน่งมิสแกรนด์คิวบา 2021 แทน
  •  เช็กเกีย – บาโบลรา อะเกรโรวาไม่สามารถเดินทางมาประกวดที่ประเทศไทยได้ เนื่องจากประสบอุบัติเหตุ ทำให้ผู้ถือลิขสิทธิ์ส่งเดนิสา สเปอร์เกโรวามาประกวดแทน
  •  เอกวาดอร์ – ลิสเสธ นารัญโญ ถูกปลดออกจากตำแหน่งโดยไม่ทราบสาเหตุ ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2563 จากนั้นซอนญา ลูนา เมเนนเดสได้ถูกแต่งตั้งให้รับตำแหน่งแทน
  •  อินเดีย – ตรีชา เชตตีเป็นผู้ต้องเดินทางมาประกวด Miss Grand International 2020 ตามกำหนดการ แต่เนื่องจากติดสัญญาจึงต้องเปลี่ยนตัวอย่างกะทันหัน โดยสิมราน ชาร์มาเป็นผู้ดำรงตำแหน่งแทน
  •  เปรู – ซาแมนตา บาตาญานอส เป็นผู้ที่ได้รับตำแหน่ง Miss Grand Peru 2020 ในการประกวดกวด Miss Peru 2019 แต่เนื่องจากขาดวินัย ทางองค์กรจึงแต่งตั้ง มาริซิเอโล กามาร์ราขึ้นแทนในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2564
  •  โปแลนด์ – แครีนา โนวัคถูกเปลี่ยนตัวเป็นมิเลนา ซาโดฟสกา ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 จากองค์กร Miss Polonia ผู้ถือลิขสิทธิ์
  •  สเปน – ซารา ซิสเนรอส ถูกปลดจากตำแหน่ง Miss Grand Spain 2020 ณ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2564 เนื่องจากเธอแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อการเป็นนางงาม ต่อมาองค์กรได้แต่งตั้งแอนเดรีย เดอ ลาส เอราสขึ้นมาแทน จากนั้นเธอก็ถูกปลดในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2564 เนื่องจากติดสัญญากับองค์กรเดิม ต่อมาในวันเดียวกันองค์กรได้ประกาศตัวแทนใหม่คืออีริส มิกัวเลส

ไม่เข้าร่วมประกวด[แก้]

  •  อาร์มีเนีย – นาเร ซาการยานไม่เดินทางมาประกวด Miss Grand International 2020 โดยไม่ทราบสาเหตุ
  •  กานา – พาเมลา คลีเมนต์ได้รับตำแหน่ง Miss Grand Ghana เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 แต่ไม่เดินทางมาประกวด Miss Grand International 2020 โดยสาเหตุที่ไม่แน่ชัด
  •  ไอร์แลนด์เหนือ – แอมเบอร์ วอลช์ตัดสินใจไม่เดินทางมาประกวด Miss Grand International 2020 แต่ยังคงดำรงตำแหน่ง Miss Grand Northern Ireland 2020 ก่อนจะส่งต่อตำแหน่งใหม่ในปี 2021

ถอนตัว[แก้]

  •  ออสเตรเลีย – องค์กร Miss Grand Australia ไม่สามารถส่งตัวแทนเพื่อเข้าร่วมการประกวด Miss Grand International 2020 ได้ เนื่องจากประเทศออสเตรเลียอยู่ในระหว่างการปิดประเทศ
  •  เอสโตเนีย – องค์กร Miss Queen of Scandinavia ผู้ถือลิขสิทธิ์ไม่สามารถหาตัวแทนประเทศเอสโตเนียเพื่อร่วมประกวด Miss Grand International 2020 ได้
  •  ลัตเวีย – ไม่มีผู้ถือลิขสิทธิ์
  •  เลบานอน – ไม่มีผู้ถือลิขสิทธิ์
  •  เรอูว์นียง – ไม่มีผู้ถือลิขสิทธิ์
  •  ยูเครน – องค์กร Queen of Ukraine ผู้ถือลิขสิทธิ์ไม่ส่งตัวแทนเข้าร่วมประกวด Miss Grand International 2020

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 ไทยรัฐออนไลน์ (27 April 2020). "ณวัฒน์ วอน! อยากให้สงสารคนที่ต้องปรับตัว ขอนโยบายรัฐล่วงหน้า". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 May 2020. สืบค้นเมื่อ 28 April 2020.
  2. Julio Blanca (25 October 2019). "Venezuela repetirá en 2020 como sede del Miss Grand International". La Sopa (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2020. สืบค้นเมื่อ 20 May 2020.
  3. 3.0 3.1 "Venezuela es Miss Grand International 2019 y será sede en el 2020". El Siglo (ภาษาสเปน). 26 October 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2019. สืบค้นเมื่อ 20 May 2020.
  4. 4.0 4.1 Juan Carlos Rivas (23 April 2020). "MISS GRAND INTERNACIONAL 2020 regresa a Venezuela". Auge Internacional (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2020. สืบค้นเมื่อ 20 May 2020.
  5. Fábio Luís de Paula (30 January 2020). "Paraibana torna-se primeira nordestina a vencer o Miss Grand Brasil" (ภาษาโปรตุเกส). Folha de S.Paulo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 December 2019. สืบค้นเมื่อ 28 May 2020.
  6. What the Saints did next, บ.ก. (7 April 2015). "A Bangkok Love Affair - Miss Grand International" (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 July 2020. สืบค้นเมื่อ 6 August 2020.
  7. "Abena Appiah, dos EUA, é primeira mulher negra a vencer Miss Grand International". Folha De S.Paulo (ภาษาโปรตุเกส). March 27, 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 27, 2021. สืบค้นเมื่อ March 29, 2021.
  8. MGI. "Miss Grand International 2020 Contestants" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 February 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]