รายชื่อรองชนะเลิศและผู้เข้ารอบสุดท้ายมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ผู้เข้าประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชั่นแนล 2016 และณวัฒน์ อิสรไกรศีล ประธานองค์กรมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ในงานแถลงข่าวการประกวดฯ ณ ศาลากลางเมืองลาสเวกัส

บทความนี้แสดงรายชื่อของที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศในการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ตั้งแต่ในปี 2013

ตารางของรองชนะเลิศและผู้เข้ารอบสุดท้ายมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล[แก้]

เนื่องจากการจัดประกวดเกิดขึ้นในปี 2013 ลำดับรองชนะเลิศของการประกวดจึงมักประกาศดังนี้:

  • อันดับที่ 1 ได้รับเลือกให้เป็น มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล
  • อันดับที่ 2 ถูกกำหนดให้เป็นรองชนะเลิศอันดับ 1
  • อันดับที่ 3 ถูกกำหนดให้เป็นรองชนะเลิศอันดับ 2
  • อันดับที่ 4 ถูกกำหนดให้เป็นรองชนะเลิศอันดับ 3
  • อันดับที่ 5 ถูกกำหนดให้เป็นรองชนะเลิศอันดับ 4
  • อันดับที่ 6 ถูกกำหนดให้เป็นรองชนะเลิศอันดับ 5

ทั้งนี้มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลได้มีการให้ผู้ผ่านเข้ารอบ 10 คนสุดท้ายเป็นรองชนะเลิศอันดับที่ 5 หรืออันดับที่ 6 โดยเริ่มให้ครั้งแรกในปี 2022[1]

ตารางนี้แสดงให้เห็นถึงรองชนะเลิศของแต่ละปีของการแข่งขันตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี ค.ศ. 2013

ปี มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล
(อันดับที่ 1)
รองชนะเลิศอันดับ 1
(อันดับที่ 2)
รองชนะเลิศอันดับ 2
(อันดับที่ 3)
รองชนะเลิศอันดับ 3
(อันดับที่ 4)
รองชนะเลิศอันดับ 4
(อันดับที่ 5)
2013 เยเนลิ ชาปาร์โร
 ปวยร์โตรีโก
แชนเทล มาร์ติเนซ
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน
เดนิซา ปาซิเชียโควา
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย
แอนนาลี ฟอร์บส์
 ฟิลิปปินส์
เคลลี หลุยส์ แม็คไกวร์
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
2014 ลิส การ์ซิอา
 คิวบา
ไฮวอท มาโม (โดนปลด)[2]
 เอธิโอเปีย
แคทริน โคฮุท
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
รีเนรา ทอมป์สัน
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
โมนิกา คาสตาโน
 โคลอมเบีย
2015 อาเนอา การ์ซิอา (โดนปลด)[3]
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
แคลร์ เอลิซาเบธ พาร์กเกอร์[a](ปฏิบัติหน้าที่แทน)[3]
 ออสเตรเลีย
วาร์ตีกา สิงห์
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
พารูล ชาห์
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
รัตติกร ขุนโสม
 ไทย
2016 อาริซกา ปูตรี เปอร์ตีวี
 อินโดนีเซีย
นิโคล คอร์โดเวส
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
สุภาพร มะลิซ้อน
 ไทย
เมดิสัน แอนเดอร์สัน
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
มิเชล เลออน
 สหรัฐ
2017 มาริอา โฆเซ โลรา
 เปรู
ทูเลีย อาเลมัน
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
เอลิซาเบธ เคลนซี
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
เบรนดา จิเมเนซ
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
นิโคลา อูห์ลิโรวา
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
2018 กลารา โซซา
 ปารากวัย
มีนากษี โชธารี
 อินเดีย
นาเดีย เพอร์โวโก
 อินโดนีเซีย
นิโคล โคลอน
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก
ฮะรุนะ โอะดะ
 ญี่ปุ่น
2019 บาเลนตินา ฟิเกรา
 เวเนซุเอลา
มารีญา มาโล
 เม็กซิโก
อารยะ ศุภฤกษ์
 ไทย
คาร์เมน เดรย์ตัน
 ปานามา
มาร์โจรี มาร์เซลลี
 บราซิล
2020 อาเบนา อัปเปียห์
 สหรัฐ
ซาแมนธา เบอร์นาร์โด
 ฟิลิปปินส์
อีบานา แบตเชเลอร์
 กัวเตมาลา
ออรา คาริสมา
 อินโดนีเซีย
ลาลา แกจิส
 บราซิล
2021 เหงียน ทุก ถวี่ เตียน
 เวียดนาม
อันเดรอา อากิเลรา
 เอกวาดอร์
โลเรนา โรดรีกิส
 บราซิล
บิเบียนิ ดิอัซ อาร์โรโย
 ปวยร์โตรีโก
ยันเน ฟัน ดัม
 แอฟริกาใต้
2022 อีซาแบลา เมนิง
 บราซิล
อิงฟ้า วราหะ
 ไทย
แอนดินา จูลี
 อินโดนีเซีย
ลุยเซธ มาเตรัน
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
มารีอานา เบ็ชโกวา
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
2023 ลูเซียนา ฟุสเตร์
 เปรู
นิ นิ ลิน แอ๋น
 พม่า
มาริอา อาเลฆันดรา โลเปซ
 โคลอมเบีย
สเตฟานี มิแรนดา
 สหรัฐ
เล ฮหว่าง เฟือง
 เวียดนาม
รองอันดับ 5

ตั้งแต่ปี 2022 การประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ได้มอบรางวัลผู้เข้ารอบ 10 อันดับแรกเป็นรองชนะเลิศอันดับที่ 5[1]

ตารางนี้แสดงรายชื่อผู้ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 5 เรียงตามปี

ปี รองชนะเลิศอันดับ 5
(อันดับที่ 6)
รองชนะเลิศอันดับ 5
(อันดับที่ 6)
รองชนะเลิศอันดับ 5
(อันดับที่ 6)
รองชนะเลิศอันดับ 5
(อันดับที่ 6)
รองชนะเลิศอันดับ 5
(อันดับที่ 6)
2022 พิช โวเธ สราโวดี
 กัมพูชา
พริสซิลลา ลอนโดโญ
 โคลอมเบีย
โรเบอร์ตา ทามอนดง (ดำรงตำแหน่งแทน)[1]
 ฟิลิปปินส์
ออกซานา ริเบรา
 ปวยร์โตรีโก
อีริสเลย์ ฮิเมเนส
 สเปน
ยุฟนา รินิชตา กูคูล (สละตำแหน่ง)[1]
 มอริเชียส
2023 ยูจีเนีย ดอส ซานโตส ดาส เนเวส
 แองโกลา
เอสการ์ซี มาร์เต
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
ริตัซซยา เวลล์เกรต
 อินโดนีเซีย
เมลิสซา บอตเตมา
 เนเธอร์แลนด์
ทวีพร พริ้งจำรัส
 ไทย
หมายเหตุ
  1. ในปี 2019 แคลร์ เอลิซาเบธ พาร์กเกอร์ สละตำแหน่งมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 หลังจากเข้าร่วมประกวดมิสยูนิเวิร์สออสเตรเลีย 2019[4]

ประเทศ/ดินแดนตามจำนวนผู้เข้ารอบสุดท้าย[แก้]

รองชนะเลิศอันดับ 1[แก้]

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปี
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2 2016, 2020
 พม่า 1 2023
 ไทย 2022
 เอกวาดอร์ 2021
 เม็กซิโก 2019
 อินเดีย 2018
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 2017
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2015*
ธงของประเทศเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย 2014*
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกัน 2013

รองชนะเลิศอันดับ 2[แก้]

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปี
 อินโดนีเซีย 2 2018, 2022
 ไทย 2016, 2019
 โคลอมเบีย 1 2023
 บราซิล 2021
 กัวเตมาลา 2020
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2017
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย 2015
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 2014
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย 2013

รองชนะเลิศอันดับ 3[แก้]

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปี
ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 4 2016, 2017, 2018, 2021
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2 2013, 2015
 สหรัฐ 1 2023
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 2022
 อินโดนีเซีย 2020
 ปานามา 2019
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2014

รองชนะเลิศอันดับ 4[แก้]

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปี
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย 2 2017, 2022
 บราซิล 2019, 2020
 เวียดนาม 1 2023
 แอฟริกาใต้ 2021
 ญี่ปุ่น 2018
สหรัฐ สหรัฐอเมริกา 2016
 ไทย 2015
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 2014
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2013

รองชนะเลิศอันดับ 5[แก้]

ประเทศ/ดินแดน จำนวน ปี
 แองโกลา 1 2023
 สาธารณรัฐโดมินิกัน 2023
 อินโดนีเซีย 2023
 เนเธอร์แลนด์ 2023
 ไทย 2023
 กัมพูชา 2022
 โคลอมเบีย 2022
 มอริเชียส 2022*
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 2022
 ปวยร์โตรีโก 2022
 สเปน 2022

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Miss Grand International names Roberta Tamondong as new 5th runner-up". CNN Philippines. 30 October 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 October 2022. สืบค้นเมื่อ 31 October 2022.
  2. "Á hậu 1 cuộc thi Miss Grand International 2014 bị truất ngôi". Ngôi sao ngành làm đẹp (ภาษาเวียดนาม). 9 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 November 2022. สืบค้นเมื่อ 14 November 2022.
  3. 3.0 3.1 Jenna Clarke (2016-04-02). "Sexual assault allegations engulf Miss Grand International as Claire Parker adopts crown". The Sydney Morning Herald (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-11. สืบค้นเมื่อ 2019-11-11.
  4. "Miss Grand International 2015 stripped of her title". Times of India. 23 February 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2022. สืบค้นเมื่อ 13 January 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]